จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ-จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-จำหน่าย และพิมพ์หนังสือธรรมะและบทสวดมนต์ราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน-จำหน่ายพระพุทธรูป หิ้งพระ และของตกแต่งห้องพระ จัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ ................................................
/music/.mp3 http://www.trilakbooks.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าแรก

รายชื่อหนังสือ

พระพุทธรูป

TIKTOK เฟอร์นิเจอร์

LOAD

กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-พิมพ์100เล่มขึ้นไปแทรกข้อความขาวดำฟรี1หน้า

พิมพ์หนังสือธรรมะ,พิมพ์หนังสือสวดมนต์,หนังสือที่ระลึก

คัมภีร์ปาฏิโมกข์-แผ่นพับทุกแบบ

งานพุทธศิลป์-อุปกรณ์ตกแต่งภายใน

หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก

สาระ-หนังสือพระไตรปิฎก-ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

หนังสือพระไตรปิฎก-ที่มีความสำคัญไม่แพ้กันกับ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับเต็ม

อานิสงส์ของการฟังธรรม5ประการ

การสังคายนาเป็นเหตุให้เกิดพระไตรปิฎก

การสวดปาฏิโมกข์คืออะไร

พระวินัยของสงฆ์ในหนังสือพระไตรปิฎก

พุทธประวัติ ในยุคต้นๆ ในพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

อรรถกถา คืออะไร มีความสัมพันธ์กับ พระไตรปิฎกอย่างไร

หนังสือพระไตรปิฎก และ หนังสือพุทธธรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

พระไตรปิฎก เป็นฐานของสรรพวิชา 6 แขนง

พระไตรปิฎก หมายถึงอะไร แนวทางการศึกษาพระไตรปิฎก ขอบเขตความรู้ในพระไตรปิฎก

เคล็ดลับอายุยืนจากพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..เป็นอย่างไร?

พระไตรปิฎกคืออะไร

ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

สาระดี

บัณฑิต ตามพุทธวิธี ความสัมพันธ์กับพระไตรปิฎก

พระผู้ทรงมหากรุณา ไม่มีสิ้นสุด คือ พระปัญญาญาณ ของ พระพุทธเจ้า

ประวัติ-องค์ท้าวเวสสุวรรณ-และการบูชา

อุปสรรคที่สำคัญในชีวิตThe-important-obstacle-in-life

รวมเรื่อง ในหนังสือคู่มือมนุษย์ ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

การจัดห้องพระตามความเหมาะสมและถูกต้อง

การสวดปาฏิโมกข์ต่างจากการสังคายนาอย่างไร?

7 ภาพวาด ที่บอกเล่าเรื่องราว ครั้งสำคัญประวัติศาสตร์ ของพระพุทธศาสนา

ความซับซ้อนของกรรม : โดยสมเด็จพระสังฆราชฯ

คาถาชะลอวัย-ที่พระพุทธเจ้าทรงได้เคยประทานไว้

ให้ทานอย่างไร-จึงจะได้ทำบุญอย่างสมบูรณ์-ป.อ.ปยุตฺโต

เด็กชายวัย 8 ขวบ ปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อใช้จ่ายค่าเทอม

กฎการรักษาความสัมพันธ์ทั้ง๖ทิศเพื่อชีวิตที่เจริญรุ่งเรือง

สิ่งที่จะป้องกันเรา-จากความตาย

ถาม-ตอบ (หลวงปู่มั่น) ตอน เวลาคน เราเวลาไข้หนักใกล้จะตาย?

แพทย์ศิริราช ออกแถลงการณ์ด่วน หลวงพ่อจรัญ’ มรณภาพแล้ว

พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า?

สหายของนางวิสาขา

ควรทำงานอย่างไร

พระพุทธศาสนาเป็นแหล่งสำคัญที่หล่อหลอมเอกลักษณ์ของชาติไทย

สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

การรักษาศีล,สมเด็จพระญาณสังวร

เรื่อง...ขายบัตรเบิกทางไปสวรรค์

ศรัทธากับกฏแห่งกรรม-โดยหลวงพ่อจรัญ

ความหมายของ-บุญ-บาป-จากหนังสือพุทธธรรม

ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

เกร็ดความรู้ เรื่อง เหตุให้ไปสุคติและทุคติ

อะไรทำให้-ปราชิก?-จากหนังสือ-นวโกวาท-หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี

อานิสงส์ของศีล-5ประการ

ประวัติความเป็นมา ของพระอวโลกิเตศวรในคัมภีร์ฝ่ายมหายาน

การปฏิบัติภาวนา-ในพระไตรลักษณ์-อนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา

วิธีการทำงาน-ให้เป็นการปฏิบัติธรรม

หาความสุขได้จากสิ่งที่เป็นทุกข์ โดย หลวงพ่อพุทธทาส

ประวัติพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ (โดย ท่านพระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน)

MP3-อย่าสร้างนิสัยทางออกให้กิเลส

104ธรรมะสำหรับคนเจ็บไข้

ธรรมบรรยาย ของหลวงพ่อพุทธทาส เรื่อง/ไฟล์ สวรรค์ในหน้าที่การงาน.mp3

สิ่งที่มีคุณอนันติ์ก็มีโทษมหันต์ได้

สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงเคารพ-โดยหลวงพ่อพุทธทาส

กรณีพระธรรมกาย บทเรียน เพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสร้างสรรสังคมไทย โดย พระพรหมคุณาภร ป.อ.ปยุตฺโต

เหตุผล 5 ประการ ที่ควร กินอาหารให้ช้าลง

นาฬิกาชีวิต

7-ลักษณะนิสัยเศรษฐี

โหลด/ฟังMP3-กาลามสูตร-หลักความเชื่อ-10-ประการ

ฟัง-MP3-ระวังอย่าให้โง่เท่าเดิม-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โหลด MP3 - ความดับไม่เหลือ-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ประโยชน์ของแตงกวา

ไข่เจียวผัก-อร่อยๆ-ใส่ผักอะไรได้บ้าง

การเสียสละเป็นพื้นฐาน สำหรับโพธิสัตว์

ความริษยา เครื่องทำลายโลก

ทาน ติดตามเจ้าของทานไปตลอด

สติ กับความเพียรช

กินผักผลไม้ต้านมะเร็งได้

ลาบเจ

ผัดฉ่าปลาหมึกและกุ้ง

ต้มข่าไก่เจ

ผลไม้ที่ควรกินเป็นประจำ

มะเขือยาวลดกระ-ด่างดำ-และอื่นๆ

ชาเก็กฮวยอาหารที่ช่วยเพิ่มEQ

น้ำตาลกับความแก่

ประโยชน์ของมะเขือเทศ

ืืทำไมใครๆจึงหันมากินมังสวิรัติ

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกฉบับ45เล่มภาษาไทย 45เล่มบาลี 100เล่ม ส.ธรรมภักดี

จำหน่ายเบาะนั่งสมาธิ-อาสนะ-และที่นั่งสำหรับปฏิบัติธรรม-สำหรับพระภิกษุและฆราวาส

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-5-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่4-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-3-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-2-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-1-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-ท่องนรกกับพระมาลัย-ม้วน-2-หน้า-A-โดยคุณ สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัยม้วน1หน้า-B-โดยคุณสนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 2 หน้า B - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด MP3 ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 1 หน้า A - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นBASIC

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นCOMFORT

อานิสงส์-แห่งการประกอบกรรมดีในลักษณะต่างๆ

ออกใหม่-คำบรรยายในพระไตรปิฎก-โดย-ศาสตราจารย์พิเศษเสฐียรพงษ์วรรณปกราชบัณฑิต

พระพุทธเจ้าทรงสอนอะไร

สามารถดาวน์โหลด บทแผ่เมตตา พร้อมคำแปลไทย ในรูปแบบ MP3-และตายแล้วไปไหน

เชิญชวนศึกษาพระไตรปิฎก

การสวดมนต์ช่วยให้พ้นนรกได้อย่างไร

อัศจรรย์ไฟไหม้หอสมุดวัดพนัญเชิงตู้ไตรปิฎกโบราณรอดปาฎิหารย์

การเผยแพร่หนังสือธรรมะเป็นทาน

อานิสงส์แห่งการชักชวนผู้อื่นถวายทาน

คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นวรรณกรรมภาษาบาลีของล้านนาไทย

เหตุไรบางคนระลึกชาติได้ บางคนระลึกไม่ได้ ?

มีสติกับเทคโนโลยี โดย ท่านพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล

อานิสงส์สร้างหนังสือพระไตรปิฎก,และการถวายหนังสือพระไตรปิฎก

เสียงธรรม : ธรรมะมีลำดับ โดยท่านพระพรหมคุณาภรณ์

คู่มือมนุษย์ เรื่องงที่ ๗ การทำให้รู้แจ้งตามวิธะรรมชาติ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๖ คนเราติดอะไร (เบญจขันธ์)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๕ ขั้นตอนการปฏิบัติ ศาสนา (ไตรสิกขา) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีการเจริญสติในชีวิตประจำวัน

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๔ อำนาจของความยึดติด (อุปาทาน) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๓ ลักษณะสามัญของสิ่งทั้งปวง (ไตรลักษณ์) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๒ พุทธศาสนา มุ่งชี้อะไร เป็นอะไร (โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๑ ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน

ยิ่งให้ยิ่งได้ บทความธรรมะจากหนังสือธรรมะเรื่อง ยิ่งให้ยิ่งได้

ภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

แม่ไม่รัก... เรื่อง โดย แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต

ีรีวิว.พระพุทธรูปหล่อเลซินปางพระพุทธเจ้าชนะมารจากศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

บททดสอบใจ และเตือนใจให้นึกถึงความจริง(ความตาย)

ปฏิบัติต่อบุรพการีโดยทำหน้าที่ให้ถูกต้อง-จากหนังสือความจริงแห่งชีวิต-พระพรหมคุณาภรณ์(ป. อ. ปยุตฺโต)

การปล่อยวาง (Letting Go)

แนะใช้สมุนไพร รสฝาด รักษาโรคน้ำกัดเท้า และโรคเบาหวาน ฯลฯ

เรื่อง การสั่งซื้อหนังสือ และผลิตภัณฑ์ จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

ไม้นวดและไม้กดจุดเพื่อสุขภาพ และการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

โรคหลอดเลือดแข็ง-กลไกการเกื้อหนุนการเกิดพยาธิสภาพ(จาก..หนังสือรู้สู้โรค)

หนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลโดยมหามกุฎราชวิทยาลัย และตู้พระไตรปิฎกไม้สัก เผยแพร่โดยไตรลักษณ์ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา www.trilakbooks.com โทร.02-482-7358,086-461-8505,081-424-0781

มนุษย์ประเสริฐ-เพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้-จาก-จาริกบุญจารึกธรรม-จาริกนมัสการและแสดงธรรมกถา ณ สังเวชนียสถาน

หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยจำนวน45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีน้ำตาลอ่อนและน้ำตาลเข้มพร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกลงทองคำเปลวติดกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก

...ข้อคิดดีๆ..(ช่วย)รักษาใจให้มีความสุข...

ดาวน์โหลดแผนที่การเดินทางมายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

"ถูกชมก็ธรรมดา ถูกด่าก็เฉยๆ"

จัดพิมพ์ส่วนเพิ่มรายชื่อในหนังสือพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกจากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 45 เล่ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีดำงานพุทธศิลป์จากจังหวัดตาก

ตู้พระไตรปิฎกปิดทองคำเปลวลงกระจกศิลปะดั้งเดิมของงานพุทธศิลป์

ตู้หนังสือพระไตรปิฎก ปิดทองคำเปลว และตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก ศิลปะจากจังหวัดตาก จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

ปณิธานของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน

ยิ่งนอนดึก ยิ่งเร่งวันตายเร็ว

NEW-ZONE ศูนย์หนังสือฯ กลางป่า หนีเมืองกรุง

NEW ZONE ไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือ เปิด โซนหนังสือใหม่ เอาใจคอหนังสือธรรมะและหนังสือเพื่อสุขภาพ

เจ้าชู้หลายใจ ต้องชดใช้กรรม

10 เหตุผลดีๆ ที่จะไม่กินเนื้อสัตว์

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ให้อะไรมากกว่าที่คุณคิด

รีวิว ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา - ร้านหนังสือธรรมะ ที่ร่มรื่นที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

"เปลี่ยนอาการอกหัก หันมารักนิพพานแทน"

6 พิษอันตรายของผงชูรส

มจร. ถวายดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่ท่านชยสาโรภิกขุ

เมื่อจิตหดหู่เราควรเจริญธรรมข้อใด

คงไม่มีพระพุทธศาสนา ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตะลึง!!10ขวบตายแล้วฟื้น

5เหตุผลหลักที่ต้องเลือกศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

อย่าหูเบา

ความหมายและที่มาของ : อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ : ตนเป็นที่พึ่งของตน

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎก ทั้ง 45 เล่ม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ส่งตรงจาก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสุข 5 ชั้น พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต

พระพุทธศาสนา มีความมุ่งหมายอย่างไร โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ความสุข อยู่แค่ ที่ ปลายจมูก โดยท่าน ไพศาล วิสาโล

มรณานุสติ พิจารณาถึงความตาย โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

การตอบแทนพระคุณของแม่ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

ท่านได้อะไรเมื่อไปงานศพ

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

“ความกตัญญูกตเวที” (สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก)

พ่อแม่นั้นทำทุกอย่างเพื่อลูกด้วยความรัก

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง เลือกแต่ของดีๆ ไปให้แม่

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง ตามใจพ่อแม่

ร่วมสนับสนุนหนังสือธรรมะจาก หนังสือคลังธรรมทาน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะแด่ท่านผู้ใจบุญ

ฟ้าดินให้ความสำคัญกับ “ความกตัญญู” เป็นอันดับแรก

บริการจัดทำหนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ในราคาพิเศษสุด บริการจัดส่ง ทั่วประเทศ

ใครจะพูดสรรเสริญเรา นินทาเรา หรือว่ากล่าวตักเตือนเรา เราต้องฟังได้ จึงจะเป็นคนดี เป็นคนซื่อสัตย์สุจริต อันนี้เราต้องพิจารณาดูว่า เรามีลักษณะอย่างนี้หรือไม่

ตัวตน แห่งที่มาของความเห็นแก่ตัว

สุภาษิต และคำพังเพย ให้ชวนคิด ของท่านพุทธทาส

โทษ และภัยของบุหรี่

ธรรมะดีดีจากหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

พระไตรปิฎกนั้นคืออะไร

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้และหนังสือพระไตรปิฎกมจร.พุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญ และผู้ประสงค์จะร่วมสร้างบุญกุศลด้วยตู้พระไตรปิฎก

เมื่อเราป่วยและรักษาไม่หาย

กลอน พุทธทาส จักอยู่ไปไม่มีตาย โดย พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีฝึกจิต โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือแสดงหลักธรรม ฉบับสมบูรณ์

อะไรภาษาคน-อะไรภาษาธรรม

คนทั่วไปมองครูอย่างไร ?

พอใจ กับ ไม่พอใจ ดีใจ กับเสียใจ ก็ทุกข์พอกัน

อย่าอวดดี ว่าเราเห็น จากหนังสือเรื่องความลับของชีวิตของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โรคทางจิตวิญญาณ สำคัญ และเป็นกันมาก...แค่ไหน

ธรรมปฏิสันถาร คืออะไร

ระบบอานาปานสติจากผลงานหนังสือธรรมะของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

หัวข้อธรรมในคำกลอน กลอนธรรมะจากสุดยอดผลงานหนังสือของ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

บทความธรรมะเรื่อง "การศึกษา" คือสิ่งที่ทำความก้าวหน้าอย่างถูกต้อง

เนื้อหาธรรมะในการดำเนินชีวิตเรื่อง หน้าที่ของเรา

โรคร้ายหายได้ด้วยการสวดมนต์

ยินดีที่จะเสี่ยง เมื่อศัลยแพทย์คนนี้ตัดสินใจมาขายรองเท้าเธอกลัวที่จะเสียใจที่ไม่ได้ทำมากกว่าความล้มเหลว โดย มาเรีย บาร์ติโรโมท

เนื้อหาสาระในบทธรรมะจากหนังสือธรรมะ การงานคือตัวการปฏิบัติธรรม โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ตัวตนที่แท้จริง,ใช่หรือไม่ใช่

TIP อย่าเห็นสิ่งใด ประเสริฐกว่าธรรม

TIP ชีวิตที่ดีที่สุด

เจท ลี ฮีโร่นอกจอ ทั้งในภาพยนต์และในชีวิตจริงชีวิตจริงก็คือธรรมะ

ธรรมศาสตราจะมีได้ต่อเมื่อมีการปฏิบัติเท่านั้น

ทำความรู้จักกับคำว่า อตัมมยตาประยุกต์กัน

ทำความเข้าใจกับคำว่าพรหมจรรย์

พระไตรปิฎก,สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้,โดยพระพรหมคุณาภรณ์

นิทานซึ้งใจ :ไม้เท้ายอดกตัญญู ลูกๆหลานๆ เด็กและเยาวชนควรอ่าน

สวดมนต์ ทำสมาธิ รักษาโรคได้จริง

การถวายหนังสือธรรมะเป็นทาน,อานิสงส์ของการถวายหนังสือ,คำถวายหนังสือ,คำกรวดน้ำแบบย่อ,คำกรวดน้ำแบบเต็ม

ใช้สมาธิพิชิตมะเร็ง ทำเดี๋ยวนี้เลย!!

ทำอย่างไรจึงจะพ้นกรรม

อาหารรักษามะเร็ง ใช้ ธรรมชาติ รักษาธรรมชาติ

9 วิธี สะสมแต้มเพื่อไป นิพพาน (จาก นิตยสาร ซีเครท เคล็บลับสู่ความสุขและความสำเร็จ)

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏิบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๒

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๑

มหัศจรรย์สมุนไพรไทย 11 ชนิด

วารีบำบัด

วิธีล้างผักสด สูตร บ้านสุขภาพ

อาหารกาย-อาหารใจ ความสัมพันธ์ที่แยกไม่ออก โดย... รศ.พญ.จิรพรรณ

ใช้หนี้กรรมสุนัข แมว พระภาวนาวิสุทธิคุณ กรรมติดจรวด

เปรตหลวงพ่อขำ

การระลึกถึงความตายต้องทำจิตใจให้แยบคาย

ช่วยมารดา พ้น นรก (หลวงปู่จันทา ถาวโร)

คิด อย่างไร จึงจะ ได้ดี และ มีความสุข 12 ข้อคิด เพื่อความสุขความเจริญ

บทความโดยย่อ : ร่ำรวยความสุข

ธรรมะ กับ การทำงาน : รู้หน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ จะมีศักดิ์ ศรีทั้งทางโลก และทางธรรม

สมาธิ ในชีวิตประจำวัน : พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺมจิตโต

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ : การควบคุมสติปัญญาด้วยตัวเราเอง

เริ่มชีวิตใหม่ได้ความสุข copy_resize

ความรักสัมผัสได้ด้วยใจ

เนื้อหา และข้อความสำคัญของ นรกสวรรค์ท่านเลือกได้

พระไตรปิฎกและถรรถกถาแปล-ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

ศูนย์จัดจำหน่ายพระไตรปิฎก-ขายตู้พระไตรปิฎก หนังสือธรรมะ-การจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก-ของตกแต่งห้องพระ

อนุโมทนาบุญแด่คณะท่านเจ้าภาพผู้ถวาย ตู้และหนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทยชุดใหญ่

ก่อนจัดส่งธรรมาสน์ไม้สักต้องตรวจเช็ค

ศูนย์จำหน่ายของแต่งห้องพระและพระพุทธรูป

อนุโมทนาบุญแด่ท่านแม่ชีและคณะเจ้าภาพผู้ร่วมบุญกันถวายชุดตู้พระไตรปิฎก

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ที่ไหนดี

กราบอนุโมทนาบุญแด่คณะเจ้าภาพท่านผู้ถวายพระไตรปิฎก

รวมคลิ๊ป รีวิว ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ

ศูนย์จัด ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก และ จัดจำหน่ายตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ

เลือกซื้อหนังสือพระไตรปิฎก แบบไหนดี ถวายวัด?

กลุ่มรายชื่อหนังสือพระไตรปิฎก แบบมาตรฐานฉบับเต็ม

คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับ การซื้อพระไตรปิฎก และการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ

ศาสนาพุทธไม่ใช่ศาสนาแห่งปรัชญา

ป้ายอลูมิเนียมอย่างดี สีทอง ติด บนตู้พระไตรปิฎก หรือ บนกล่อง-หีบ-บรรจุพระคัมภีร์ต่างๆ ในราคาโรงงาน 700 บาท

กลุ่มหนังสือธรรมะ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน

VV กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น VV จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า จัดส่งทั่วประเทศ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น ลงรักปิดทอง ราคา 10,900 บาท

หิ้งพระไม้สักหมู่9หน้า9ราคา18500จัดส่งทั่วประเทศ

เบาะรองนั่งสมาธิ-อาสนะ-สำหรับนั่งสมาธิหรือนั่งวิปัสสนากรรมฐานราคา4900บาทสีน้ำตาล

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทรงป้าน-ทรงA-ออกใหม่สุด-สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก91เล่มราคา15000บาทจัดส่งทั่วประเทศ

พิกัด เส้นทาง การเดินทางมายัง ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์

การสั่งพิมพ์หนังสืออุปปาตะสันติ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎกกลุ่ม45เล่มสีเขียวเข้ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-สำหรับ-บรรจุหนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลจำนวน-91-เล่ม

ตู้บรรจุ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรม-โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย-โดยศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์-ราคา-5000-บาท

ตู้พระธรรมบรรจุหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมโดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การค้นหารายการหนังสือด้วยวิธีการง่ายๆ

ตู้พระไตร-ไม้สักทั้งหลัง-ทรงป้านราคา9900บาท

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายทองประดับกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-ทรงตรงมาตรฐานสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาฯ

ตู้พระไตรปิฎกสีแดงลวดลายทอง-ใหม่สำหรับพระไตรฯ45เล่ม

ใหม่ล่าสุด-ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายประณีตวิจิตรบรรจงสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่ม

หลังจากการโอนเงิน-ค่าหนังสือ-หรืออื่นๆแล้วต้องส่งเอกสารแจ้งด้วยหรือไม่

โทรสั่งหนังสือพระไตรปิฎก-จัดส่งทั่วประเทศ

ตัวอย่าง..หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ มหาเถระสมาคม ภาษาไทย 45 เล่ม

การสั่งซื้อหนังสือพระไตรปิฎกและตู้หนังสือพระไตรปิฎกทุกชนิดจำเป็นต้องโทรศัทพ์สั่งโดยตรง

แนะนำ **การเดินทางมายังศูนย์ไตรลักษณ์** เพิ่มเติม จาก ถนนบรมราชชนนี ปิ่นเกล้า มุ่งหน้ามายัง พุทธมณฑลสาย 4

จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมราคา3300บาทโดยศูนย์หนังสือพระไตรปิฎกไตรลักษณ์

ราคาหนังสือพระไตรปิฎกทุกชุดที่เผยแพร่เป็นราคากลาง

เชิญเยี่ยมชม-ด้วยภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ บางส่วน

สั่งซื้อจัดธรรมโฆษณ์ทั้งชุดจากธรรมทานมูลนิธิของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ เผยแพร่โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ 02-482-7358, 087-696-7771

แนะนำหนังสือที่ใช้แจกเป็นธรรมทาน งานอนุสรณ์ **แจกเนื่องในงานที่ระลึก และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน**

ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกจำนวน45เล่มราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกลายทอง-ทรงตรง-ราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกทรงป้าน-ลวดลายทอง

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ร่วมมอบตู้พระไตรปิฎกให้แก่รายการแฟนพันธุ์แท้

ตัวอย่าง-ส่วนเพิ่มรายชื่อผู้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานพิเศษต่างๆ

การจำหน่ายพระไตรปิฎกราคาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ , พิมพ์หนังสือสวดมนต์, หนังสืองานศพ, งานบวช, งานแต่งงาน,

ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อ-สำหรับผู้ถวายหนังสือพระไตรปิฎก

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-บริการจัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ

แหล่งบริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะและศูนย์รวมหนังสือธรรมะแบบครบวงจร

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-หนึ่งในโครงการของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

พระไตรปิฎกแปล๑๐๐เล่ม-ฉบับส.ธรรมภักดี

พระไตรปิฎกภาษาไทย พุทธศักราช 2549 ฉบับเฉลิมพระเกียรติ-โดยมหาเถรสมาคมเผยแพร่

หนังสือขายดี..พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..ฉบับปรับปรุงและขยายความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

แนะนำหนังสือขายดี...พระเจ้า500ชาติฉบับสมบูรณ์อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ารวมชาดกจากพระไตรปิฎก๔๕เล่มครบสมบูรณ์547พระชาติ

กฎแห่งกรรม ท.เลียงพิบูลย์ ฉบับสมบูรณ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 พุทธศักราช 2555

ชุดหนังสือ-ตู้..พระไตรปิฎก

มรดกวรรณกรรม ท.เลียงพิบูลย์ รวมบทความจากชีวิตจริงเรื่องกฎแห่งกรรม

คำถามที่ถูกถามบ่อย-เกี่ยวกับหนังสือพระไตรปิฎก..ข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือพระไตรปิฎก

เริ่มส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ใหม่ เริ่มวันที่ 4 มกราคมนี้

ใหม่..ตู้พระไตรปิฎกติดกระจกลวดลายทองสีเขียวเข้ม

ภาพตู้พระไตรปิฎกไม้สักเต็มใบจากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ประจำวันที่ 29 ธค.54

กฎแห่งกรรมฉบับสมบูรณ์ โดย ท.เลียงพิบูลย์ พิเศษสุด 7 เล่ม 2800 บาท ค่าจัดส่ง 380 บาททั่วประเทศ

ราคาปรับปรุงใหม่... ชุด ธรรมโฆษณ์ ของ พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา สวนโมกขพลาราม ได้มีการปรับราคา เพื่อให้เหมาะสมกับราคาการจัดพิมพ์ใหม่ โดยราคาหนังสือธรรมโฆษณ์ที่ปรับปรุงใหม่จะอยู่ใน แถบสีส้ม ดังต่อไปนี้

แนะนำ-หนังสือธรรมะ เรื่อง: ความสุขที่ยั่งยืน เบิกบาน สว่าง รุ่งเรือง ดุจดวงประทีป พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

ตู้พระไตรปิฎก ลวดลายทอง ติดกระจกสี ประดิษฐกรรม ตู้พระไตรปิฎกผลงานฝีมือทั้งหมด

หนังสือใหม่ :มรรคาสู่ชีวิตใหม่ การอยู่เหนืออำนาจบีบคั้นของสัญชาตญาณ พระธรรมเทศนา โดย พระธรรมโกศาจารย์ (หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

ความรู้เกี่ยวกับไม้สัก-เรื่องน่ารู้-

บริการจัดพิมพ์หนังสือเนื่องในงานที่ระลึกต่างๆ

ไตรลักษณ์ ... บริการจัดส่ง หนังสือ และ ผลิตภัณฑ์ ถึงที่บ้านท่านอย่างสะดวก และรวดเร็ว

กิจกรรม-ของ-ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

รีวิว หนังสือ : บรมพรบรมธรรม ธรรม ๔ ประการที่ควรมีในทุกย่างก้าวชีวิต

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้และ หนังสือพระไตรปิฎก จัดส่ง ให้ลูกค้า

ขณะนี้กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือ ที่ระลึกงานฌาปนกิจฯ ” พ่อ ” พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ของลูก – 19 บาท

รายงานการ จัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย โดย ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธาสนาไตรลักษณ์

ขณะนี้ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงตรง (แบบมาตรฐาน) ไม้สักแท้ทั้งหลัง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก ชุด 45 เล่มภาษาไทย // บาลี // สยามรัฐ ราคา 8,500 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ)

ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎก ถึง วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี เป็นที่เรียบร้อย แล้วครับ

ตรวจเช็ค ตู้พระไตรปิฎก ก่อนดำเนินการจัดส่ง #ตุ้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก เพื่อดำเนินการจัดส่ง ทั่วประเทศต่อไป ท่านสามารถ มาเยี่ยมชม ตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก แบบต่างๆ ได้ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

เตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักทั้งหลัง ทรงตรง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย มจร. พร้อมทั้ง ติดป้ายชื่อ ด้านบนตู้พระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดทำ ส่วนแทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ เรื่อง วิธีการทำงานให้เป็นการปฏิบัติธรรม (พุทธทาส) 20 บาท เพื่อเตรียมดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

TRILAKBOOKS กับ บรรยากาศ ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ http://www.trilakbooks.com

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎก และ #หนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ ท่านสามารถ ดู หนังสือ และ ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ ในราคามูลนิธิ ได้ที่ http://www.ตู้พระไตรปิฎก.com

เตรียม ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก แท้ ทั้งหลัง รุ่น ประตู 3 บาน สำหรับบรรจุ พระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทย เพื่อเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รามนาม ผู้ ถวายหนังสือ ธรรมะแจก “หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนดรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท (แทรกข้อความฟรี 1 หน้า)

ขณะนี้ ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก กำลัง ดำเนินการ บรรจุตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ ทั้งหลัง แบบ ทรงตรงธรรมดา และแบบ ทรงตรง ประดับ จั่วแกะสลัก ด้านบน

ทำเป็นหนังสือที่ระลึก เรื่อง ยาระงับสรรพโรค ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ เล่มละ 20 บาท

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และ หนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ไทย พร้อมทั้ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ทั้งหลัง ด้านบนประดับจั่ว สลักลายดอกไม้ สวยงาม จัดส่ง ถึงวัดเทียนถวาย จ.ปทุมธานี เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนา กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “ธรรมทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 25 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกไตรลักษณ์ เตรียมดำเนินการจัดส่งหนังสือ และตู้พระไตรปิฎก จัดส่ง ไปยังที่หมายแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้จัดทำหนังสือธรรมะ เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ เรื่อง “ธรรมะทรงคุณค่า” เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก

ขณะนี้ ลูกค้ามาดูหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย และตู้พระไตรปิฎก ด้วยตนเอง สรุปได้เลือกตู้พระไตรปิฎก สีฟ้าลวดลายทอง แล้ว ให้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่งให้ต่อไป ที่ ** ส่งที่วัดสระมณี อำเภอหนองหาร จังหวัดอุดรธานี **

แหล่งรวมหนังสือธรรมะ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ ที่รวบรวมหนังสือธรรมะมากกว่า 2000 รายการ

ศูนย์หนังสือที่เผยแพร่และจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ทั้งสอง แห่ง คือ มูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก แบบไม้สัก ทั้งหลัง พร้อมประดับลวดลายทองงานบรรจงประณีต

ลงรักปิดทอง คืออะไร ทำไมต้องลงรักปิดทอง?

จัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปถึง บ้านลูกค้า เพื่อนำไปถวาย วัดต่อไป กราบอนุโมทนาบุญด้วยครับ

ยาระงับสรรพโรค-พุทธทาสภิกขุ-20บาท ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก “เนื่องในงานฌาปนกิจศพ” เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้ผู้มาร่วมงาน สวดพระอภิธรรม

ก่อนจะถึง เทศกาลสงกรานต์ ปีนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วมถวายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับประชาชน 20 เล่ม

เตรียมตอกลังกันกระแทก ครอบตู้พระไตรปิฎก เพื่อป้องกันการกระเทือน ระหว่างการขนส่ง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลัง ดำเนินการ ห่อตู้ และเตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทั้งหลัง ราคาตู้พระไตรปิฎก 8500 บาท สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก ของ มหาจุฬาลงกรณฯ 45 เล่มภาษาไทย ราคา 15000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)

ขณะนี้ก่ำลังพิมพ์ รายชื่อ ผู้จัดพิมพ์หนังสือบรมพรบรมธรรม

ขณะนี้ คณะพระสงฆ์ ได้มา ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิ 15,000.-

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกแบบลงรักปิดทอง ทั้งหลัง ไปยัง หมู่บ้านบุราสิริ ประชาชื่น-งามวงศ์วาน

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก, ส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎกภาษาไทย ไม้สักทั้งหลัง ถึง #สำนักสงฆ์หลวงปู่เจือ

เตรียมจัดส่งหนังสือ ปราชญ์กล่าวว่า "ชีวิตนี้น้อยนัก" ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 15 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่ง แล้วครับ

ผนึก ป้ายรายชื่อบรรจุลงใน ชุดพระอภิธรรม คัมภีร์พระอภิธรรม + ตู้บรรจุพระอภิธรรมแบบลงรักปิดทอง

ตู้พระไตรปิฎก ของศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกไตรลักษณ์ ที่ตอกลังกันกระแทก ทุกหลัง เพื่อไม่ให้กระทบกระเทือน ระหว่างตู้กัน กำลังดำเนินการจัดส่ง ถึงที่หมายเรียบร้อยแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก ใช้หนังสือ บรมพรบรมธรรม โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท ทำส่วนแทรก ข้อความฟรี

อนุโมทนาบุญ – ในการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ ส่วนแทรกข้อความของผู้ประสงฆ์แทรกข้อความ บันทึกลงในหนังสือ บรมพรบรมธรรม ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 25 บาท

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้แด่ผู้สั่งพิมพ์ หนังสือ บทสวดมนต์ คู่มืออุบาสกอุบาสิกา (ทำวัตรเช้าเย็น แปลไทย ทั้งหมด)

ดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ นิมิตกฏแห่งกรรม-ราคา-18-บาท

จัดพิมพ์ งานพระราชทานเพลิงศพฯโดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการบรรจุ คัมภีร์ พระอภิธรรม หรือคัมภีร์ พระมาลัย พร้อม กล่องบรรจุพระคัมภีร์ จัดทำขึ้นด้วยงานฝีมือ ล้วน ทั้งใบ “ประดับ ลวดลายทอง พร้อม กับ ลงรักปิดทอง “

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดทำส่วนแทรก รายชื่อ พร้อม บทสวดมนต์ เพิ่มเติม เพื่อให้ผู้จัดพิมพ์ ดำเนินการ แจก เป็นหนังสือธรรมบรรณาการ แด่ ผู้สนใจ ศึกษา บทสวดมหามงคลหลวง #อุปปาตะสันติ #มหาสันติงหลวง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ต่อไป

อาจารย์ จากศูนย์การเรียนรู้พิเศษประภาคารปัญญา (เด็กพิเศษ) มาซื้อพระไตรปิฎกภาษาไทย ของ มจร 45 เล่ม 1 ชุด

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ชุดหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาฯ ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศเรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์ จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดพิมพ์ แทรกข้อความ รายนาม ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ แจกเป็นธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี โดย สมเด็จพระสังฆราช” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ ธรรมทาน 19 บาท ด้วยระบบ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อจัดส่ง ต่อไป

ตรวจเช็ค หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 45 เล่ม มจร

จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมถวายหนังสือ #หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย 91 เล่ม ด้วยระบบเครื่องพิมพ์ ดิจิตอล ความละเอียดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งไปไป ท่านสามารถ ดูรายละเอียดหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 91 เล่ม (ชุดใหญ่)

พระไตรปิฎก,หนังสือพระไตรปิฎก, ตู้พระไตรปิฎก

กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

อนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ บทสวดมหามงคลหลวง อุปปาตะสันติ มหาสันติงหลวง แปลไทย เล่มละ 30 บาท จำนวน 1,651 เล่ม

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก และหนังสือธรรมะ จัดส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว ครับ

ส่งตู้พระไตรปิฎกและหนังสือไปยัง วัดสะพานสูง ปากเกร็ด เรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่งขึ้นขนส่งแล้วครับ ตู้พระไตรปิฎกไม้สักลายไม้น้ำตาล

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก เตรียมดำเนินการ ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก รุ่น ประตู 3 บาน (ใหม่ล่าสุด) เพื่อจัดส่งขึ้นบริษัทขนส่ง เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดทำ พระไตรปิฎก ภาษาไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิของมหาจุฬา 15000 บาท และจัดทำรายชื่อ ด้วยระบบพิมพ์ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

นับเป็นบุญ ที่ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ได้ที่มีโอกาส เป็นสะพานบุญ ในการนำส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิของมหาจุฬาฯ ราคา 15000 บาท (ไม่รวมค่าจัดส่ง) เรียบร้อยแล้ว

ดำเนินการจัดทำ หนังสือที่ระลึกเนื่องในงานฌาปนกิจ แทรก 1 หน้า โดยใช้หนังสือ บทสวดมนต์ “คู่มืออุบาสกอุบาสิกา” – 30 บาท

ขณะนี้ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า “วิธีสร้างบุญบารมี” -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี” โดยสมเด็จพระสังฆราช ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 19 บาท

ส่งตู้พระไตรปิฎ ไม้สักทรง สี่เหลี่ยมคางหมู ประดับลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก แบบ91 เล่มภาษาไทย ไปยัง #หมู่บ้านพรไพศาล

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกทรงตรง แบบลงรักปิดทองสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย ถึง #วัดดอนตูม จังหวัดราชบุรี เรียบร้อยแล้ว ครับ

พระอาจารย์ท่านเดินทางไกล มาซื้อ ชุดพระคำภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อมกล่องบรรจุแบบลงรักปิดทอง ถึงที่ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือธรรมะ เป็น ของที่ระลึก เรื่อง… แม่-พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก ราคา 19 บาท โปรโมชั่นพิเศษ สุด : สั่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่เป็นธรรมบรรณาการ 100 เล่มขึ้นไป จัดพิมพ์ข้อความสำหรับแทรกลงในหนังสือ ขาวดำ 1 หน้า ฟรี + จัดส่ง ทั่วประเทศ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ “ฃีวิตนี้น้อยนัก” เล่มละ 15 บาท เพื่อดำเนินการเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สีเหลือง ลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทยของ มจร ไปยังวัดเรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่ง หนังสือ “นวโกวาท” ราคามูลนิธิ มหามกุฏฯ 30 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ ธรรมะ เรื่อง ปราชญ์กล่าวว่า ชีวิตนี้น้อยนัก-ราคาต้นทุนโรงพิมพ์-15บาท

จัดพิมพ์หนังสือที่ระลึกงานศพ ใช้หนังสือเรื่อง คู่มืออุบาสกอุบาสิกา-บทสวดทำวัตรเช้าเย็นแปลไทย -30บาท

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก ไปยัง จังหวัดนนทบุรี

ดำเนินการจัดทำหนังสือให้ลูกค้าผู้สั่งพิมพ์หนังสือเป็นธรรมทาน เรื่อง วิธีสร้างบุญบารมี ซึ่งเป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท

ลูกค้ามารับ คัมภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อม หีบบรรจุคัมภีร์ แบบลงรักปิดทอง พร้อมประดับลวดลายทอง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น เหลืองอัมพัน ประดับจั่วลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก ชุด 91 เล่ม ภาษาไทย ไปยัง วัดพุทธบูชา กุฎิจุ้ยจ้อย (กุฎิเจ้าคุณสุธีหรือเจ้าคุณบุญทัม)

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ถึงที่หมายแล้ว ใหม่ล่าสุด + สวยงาม+แข็งแรงและไม่เหมือนใคร ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ รุ่นประตู 3 บาน สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทยแปลพร้อมอรรถกถา

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย และ ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ประดับจั่วลายดอกไม้ พร้อมทำป้ายปิดหน้าตู้ ผู้ถวายหนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปยังที่หมาย เรียบร้อยแล้ว ครับ

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานบวช

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ขอขอบพระคุณ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม ที่ได้สั่งพิมพ์ หนังสือบรมพร บรมธรรม

ขณะนี้ พระอาจารย์ มาตรวจต้นฉบับงานพิมพ์ หนังสือใหม่ที่สั่งพิมพ์ทั้งเล่ม โดย พิมพ์หนังสือพิมพ์แจกเป็นธรรมบรรณาการ ของเจ้าภาพ เพื่อนำแจกเป็นธรรมทานต่อไป

จัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ “อภินิหารแห่งบุญ- โดย – หลวงพ่อจรัญฯ”

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกฯ กำลังดำเนินการจัดทำ หนังสือ ที่ระลึก เพื่อแจกในงานบำเพ็ญบุญ หนังสือสวดมนต์ แปลไทย คู่มืออุบาสก อุบาสิกา 30 บาท และจักดำเนินการจัดส่งต่อไป

อนุโมทนาบุญ กับท่านผู้จัดพิมพ์หนังสือ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน ” หนังสือ บรมพรบรมธรรม ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน เล่มละ 25 บาท (พิมพ์ข้อความแทรก ฟรี)

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือพระไตรปิฎก91เล่มภาษาไทย

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ดำเนินการจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก แทนลูกค้า

ขณะนี้ เตรียมห่อบรรจุ คัมภีร์ บาลีปาฏิโมกข์ แบบลงรักปิดทอง พร้อม ชุด คัมภีร์ ใบลานเทศน์มหาชาติ

ส่งหนังสือ “ธรรมะทรงคุณค่า” ถามตอบปัญหาธรรมะ โดย หลวงปู่มั่น เล่มละ 25 บาท ถึงที่หมายปลายทางเรียบร้อยแล้วครับ

พระอาจารย์ หลวงพ่อ เดินทางมาเลือก หนังสือธรรมะ ชุดธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาส

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดงาน ประชาสัมพันธ์ หนังสือ พระพุทธศาสนา ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ

เบาะรองนั่งสมาธิ-หุ้มด้วยหนังเทียมทำงานสะอาดง่าย-ราคา950บาท

จัดพิมพ์ข้อความส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วม แจกเป็นธรรมทาน “บทสวดมนต์บูชาพระพุทธคุณ ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 20 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่งต่อไป

เตรียมงานพิมพ์แทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ คู่มือมนุษย์ โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ (ปกแข็ง)

แนะนำกลุ่มตู้พระไตรปิฎกที่ใช้สำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่มไทย

ขณะนี้… ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก และ หนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วม ถวายหนังสือ และ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย พร้อม อรรถกถาแปล เพื่อดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือฯไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมบรรณาการ เพื่อเผยแพร่พระธรรมคำสอน “ความสุขที่สมบูรณ์” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ให้ถึงผู้สั่งพิมพ์ต่อไป

กราบอนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมบุญสร้างถวาย หนังสือและตู้พระไตรปิฎก และขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ได้นำตู้และหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย ไปยัง วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ละลึกเรื่อง ยาระงับสรรพโรค เล่มละ 20 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ “วิธีสร้างบุญบารมี” โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท เพื่อทำเป็นหนังสือที่ระลึกในงานฌาปนกิจฯ และเตรียมดำเนินการจัดส่งต่อไป

กลุ่มตัวอย่างตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิำก45 เล่มไทย

เตรียมจัดส่งตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นรถกระบะ เพื่อนำส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว วันนี้ครับ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก 45 เล่ม แปลไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถึง …วัดจากแดง ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ ถ้ารู้จักพระพุทธศาสนาความสุขต้องมาทันที-ราคา20บาท โดย พระพรหมคุณาภรณ์ฯ

ลูกค้ามารับ #ตู้พระไตรปิฎก แบบ ไม้สักแท้ทั้งหลัง พร้อมทั้ง #หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิ ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ด้วยตนเอง

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงป้าน-สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก45เล่ม ราคา11000บาท สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

สถิติ

เปิดเว็บ15/04/2010
อัพเดท14/03/2024
ผู้เข้าชม11,087,477
เปิดเพจ16,698,967
สินค้าทั้งหมด2,093

ความรู้เรื่อง พุทธศาสนพิธี

(อ่าน 2322/ ตอบ 0)

trilakbooks


พุทธศาสนพิธี 



พุทธศาสนพิธี คือแบบอย่างหรือแบบแผนต่าง ๆ ที่พึงปฏิบัติในทางพระพุทธศาสนา เหตุที่เกิดมีพุทธศาสนพิธี ก็เนื่องมาจากหลักคำสอนของพระพุทธศาสนา ที่เรียกว่า โอวาทปาติโมกข์ พระพุทธเจ้าได้ทรงวางหลักการสำคัญไว้สามประการ คือ 
ในคำสอนของพระพุทธศาสนา 
สอนไม่ให้ทำความชั่วทั้งปวง สพฺพปาปสฺส อกรณํ 
สอนให้อบรมกุศลให้ถึงพร้อม กุศลสูป สมฺปทา 
สอนให้ทำจิตใจของตนให้ผ่องแผ้ว สจิตต ปริโยทปนํ 
ด้วยหลักการทั้งสามประการนี้ พุทธศาสนิกชนต้องพยายามเลิกละความประพฤติชั่วทุกอย่าง จนเต็มความสามารถ พยายามสร้างกุศลสำหรับตนให้พร้อมเท่าที่จะสามารถทำได้ และพยายามชำระจิตใจให้ผ่องใสอยู่เสมอ ทั้งหมดเป็นการพยายามทำดีที่เรียกว่า ทำบุญ การทำบุญนี้ พระพุทธเจ้าทรงแสดงวัตถุคือ ที่ตั้งอันเป็นทางไว้โดยหลักย่อ ๆ สามประการเรียกว่า บุญกิริยาวัตถุ อันประกอบด้วย 
ทาน การบริจาคของ ของตนให้เป็นประโยชน์แก่ผู้อื่น 
ศีล การรักษา กาย และ วาจาให้สงบเรียบร้อยไม่ล่วงบัญญัติที่ห้ามไว้ 
ภาวนา การอบรมจิตใจให้ผ่องใสในทางกุศล 
บุญกิริยาวัตถุ เป็นแนวทางให้พุทธศาสนิกชนประพฤติบุญตามหลักการดังกล่าวข้างต้น และทำให้เกิดพุทธศาสนพิธีต่าง ๆ ขึ้น คือเมื่อพุทธศาสนิกชนทำบุญไม่ว่าจะปรารภเหตุใด ๆ ก็ให้เข้าหลักบุญกิริยาวัตถุทั้งสามประการนี้ โดยเริ่มต้นมีการรับศีล ต่อไปเป็นภาวนาด้วยการสวดมนต์ จบลงด้วยการบริจาคทาน 
เมื่อพิธีกรรมใดเป็นที่นิยม และรับรองปฏิบัติสืบ ๆ มาจนเป็นประเพณี พิธีกรรมนั้นก็กลายเป็นศาสนพิธีขึ้น ซึ่งมีอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อแยกเป็นหมวด พอจะแบ่งออกได้เป็นสี่หมวดด้วยกัน คือ 
หมวดกุศลวิธี ว่าด้วยพิธีบำเพ็ญกุศล 
หมวดบุญพิธี ว่าด้วยพิธีทำบุญ 
หมวดทานพิธี ว่าด้วยพิธีถวายทาน 
หมวดปกิณกะ ว่าด้วยพิธีเบ็ดเตล็ด 

กุศลพิธี 

กุศลพิธี คือพิธีกรรม อันเกี่ยวด้วยการอบรมความดีงามทางพระพุทธศาสนา ทั้งตัวบุคคลและหมู่คณะ ได้แก่ การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ พิธีเวียนเทียนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา พิธีรักษาอุโบสถ ส่วนพิธีเข้าพรรษา พิธีถือนิสสัย พิธีทำสามีจิกรรม พิธีทำวัตรสวดมนต์ พิธีกรรมวันธรรมสวนะ พิธีสังฆอุโบสถ และพิธีออกพรรษา เป็นพิธีกรรมที่พระภิกษุสงฆ์พึงปฏิบัติเพื่อความดีงามในพระวินัย 
บุญวิธี 
บุญวิธี คือพิธีทำบุญ หรือทำความดีเนื่องด้วยประเพณีในครอบครัวของพุทธศาสนิชน เป็นประเพณีที่เกี่ยวกับชีวิตของคนทั่วไป แบ่งออกเป็นสองประเภทคือ ทำบุญงานมงคล และทำบุญงานอวมงคล นอกจากนี้ยังมีงานทำบุญร่วมกันเป็นส่วนรวม ของชุมชนในระดับต่าง ๆ 
งานหลักของการทำบุญ คือการเลี้ยงพระ เรียกว่า การทำบุญเลี้ยงพระ มีการนิมนต์พระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ แล้วถวายภัตตาหารกับถวายทานอย่างอื่นแด่พระภิกษุสงฆ์ เป็นอันเสร็จพิธี 
การทำบุญงานมงคล ได้แก่ การทำบุญในโอกาสต่าง ๆ เพื่อความเป็นศิริมงคล ส่วนการทำบุญงานอวมงคล เป็นการทำบุญเกี่ยวกับการตาย มีการทำบุญหน้าศพและการทำบุญอัฐิ 
พิธีฝ่ายสงฆ์ มีพิธีเจริญพระพุทธมนต์ พิธีสวดพระพุทธมนต์ พิธีสวดพระอภิธรรม พิธีสวดมาติกา พิธีสวดแจง พิธีสวดถวายพรพระ พิธีอนุโมทนาในกรณีต่าง ๆ พิธีพระธรรมเทศนา และพิธีพิเศษเฉพาะงาน เช่น พิธีทำบุญตักบาตรเทโวโรหนะ เป็นต้น 

ทานพิธี 

ทานพิธี คือพิธีถวายทานต่าง ๆ เป็นการถวายวัตถุที่ควรให้เป็นทาน ในพระพุทธศาสนาเรียกวัตถุที่ควรให้เป็นทานว่า ทานวัตถุ จำแนกได้เป็นสิบประการคือ ภัตตาหาร น้ำ ผ้า เครื่องนุ่งห่ม ยานพาหนะ มาลัย และดอกไม้เครื่องบูชาต่าง ๆ ของหอม หมายถึงธูปเทียนบูชาพระ เครื่องลูบไล้ เครื่องที่นอนอันควรแก่สมณะ ที่อยู่อาศัย เครื่องตามประทีป 
การถวายทานนิยมทำสองอย่างคือ ถวายเจาะจงเฉพาะภิกษุรูปใดรูปหนึ่ง เรียกว่า ปาฏิปุคลิกทาน และถวายไม่เจาะจงภิกษุรูปใด มอบเป็นของกลางให้สงฆ์เรียกว่า สังฆทาน 
การถวายทานวัตถุทั้งสิบประการดังกล่าวมีคำถวายแตกต่างกันออกไป แยกออกได้เป็นพวก ๆ ตามปัจจัยเครื่องอาศัยสี่อย่างของบรรพชิต คือ จีวร บิณฑบาต เสนาสนะ และ คิลานเภสัช การถวายทานนิยมถวายเป็นสองแบบคือ ถวายในกาลที่ควรถวายสิ่งนั้น ๆ เรียกว่า กาลทาน และถวายไม่เนื่องด้วยกาลอีกแบบหนึ่ง 

ข้อปฏิบัติในการประกอบพุทธศาสนพิธี 
ในการประกอบพุทธศาสนพิธี พุทธศาสนิกชนจะปฏิบัติตนด้วยความเรียบร้อย สำรวม ด้วยอาการอันแสดงความเคารพตลอดพิธี มีวิธีการปฏิบัติที่ถือกันเป็นประเพณี เช่น วิธีแสดงความเคารพพระภิกษุ วิธีประเคนของแด่ภิกษุ วิธีทำหนังสืออาราธนา และทำใบปวารณาถวายจตุปัจจัย วิธีอาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร อาราธนาธรรม วิธีกรวดน้ำ วิธีจับด้ายสายสิญจน์ วิธีตั้งโต๊ะหมู่บูชาพระพุทธรูป และพิธีของพระภิกษุสงฆ์ก็มีวิธีบังสุกุลในพิธีทำบุญอายุ และพิธีศพ วิธีบอกศักราชในการแสดงพระธรรมเทศนา 
พุทธศาสนพิธี มีระเบียบพิธีโดยเฉพาะในแต่ละพิธี งานต่าง ๆ ตามประเพณีเกี่ยวกับชีวิต งานวันนักขัตฤกษ์ และเทศกาลต่าง ๆ จะมีพุทธศาสนพิธีแทรกอยู่ทั้งสิ้น เช่นงานมงคลสมรส งานทำบุญฉลองต่าง ๆ งานศพ งานวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา ฯลฯ 
พระราชพิธีพระราชกุศลและรัฐพิธี 

งานพิธีตามประเพณีไทย จะมีพิธีทางพระพุทธศาสนาประกอบอยู่ด้วย พระมหากษัตริย์ไทยทรงเป็นพุทธมามกะ และเอกอัครศาสนูปถัมภก ดังนั้นในงานพระราชพิธี พระราชกุศล และรัฐพิธีต่าง ๆ จึงมีพุทธศาสนพิธี ซึ่งเรียกว่า พิธีสงฆ์ เป็นส่วนประกอบอยู่ด้วยทั้งสิ้น 
พระราชพิธี เป็นงานหลวงสำหรับพระมหากษัตริย์ จัดขึ้นประจำตามกำหนดกาล โดยเป็นพระราชพิธีที่สืบเนื่องมาแต่โบราณกาล ประกาลหนึ่ง และเป็นการพิเศษที่ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้จัดเป็นงานพระราชพิธีอีกประการหนึ่ง 
งานพระราชพิธีประการแรก เป็นงานที่กำหนดเป็นประจำตามกำหนดกาลที่เวียนมาถึงทุกรอบปี เช่นพระราชสงกรานต์ พระราชพิธีฉัตรมงคล พระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา เป็นต้น 
งานพระราชพิธีบางงานมีแต่พิธีสงฆ์อย่างเดียว บางงานก็มีทั้งพิธีสงฆ์ และพิธีพราหมณ์ร่วมกัน และบางทีก็มีพิธีโหรรวมอยู่ด้วย พิธีสงฆ์มีเจริญพระพุทธมนต์ เทศน์ สดับปกรณ์ 
งานพระราชกุศล เป็นงานที่พระมหากษัตริย์ทรงบำเพ็ญพระราชกุศล บางงานก็ต่อเนื่องกับงานพระราชพิธี เช่น พระราชกุศลทักษิณานุปาทาน พระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบุรพการี จัดทำต่อเนื่องกับงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา หรือพระราชพิธีฉัตรมงคล งานที่ไม่เกี่ยวกับงานพระราชพิธีก็มี เช่น พระราชกุศลมาฆบูชา เป็นต้น 
รัฐพิธี เป็นงานพิธีที่รัฐบาล หรือทางราชการ กำหนดขึ้นประจำปีโดยเชิญเสด็จพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงเป็นประธานในการประกอบพิธี เช่น รัฐพิธีที่ระลึกวันจักรี รัฐพิธีที่ระลึกวันสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช เป็นต้น งานใดจะจัดให้มีพิธีสงฆ์ด้วยหรือไม่นั้น สุดแต่สำนักพระราชวังจะกำหนด และนำความขึ้นกราบบังคมทูล 
กุศลพิธีเบื้องต้นของพุทธสานิกชน 

พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ 
การแสดงตนเป็นพุทธมามกะ คือการประกาศตนของผู้แสดงว่าเป็นผู้รับนับถือพระพุทธเจ้าเป็นของตน เป็นการแสดงตนให้ปรากฏว่ายอมรับนับถือพระพุทธศาสนา เป็นศาสนาประจำชีวิตของตน เป็นพิธีที่ได้ทำกันมาตั้งแต่ครั้งพุทธกาล เพื่อแสดงให้รู้ว่าตนละลัทธิเดิมและรับเอาพระพุทธศาสนาไว้เป็นที่นับถือ 
วิธีแสดงตนมีต่างกันโดยสมควรแก่บริษัทคือ 
ผู้ที่เป็นบรรพชิตภายนอกพระพุทธศาสนามาก่อน ขอบรรพชาอุปสมบทในพระธรรมวินัยของพระพุทธศาสนา พระศาสดาทรงรับด้วยวาจาว่า มาเถิดภิกษุ ธรรมอันเรากล่าวดีแล้ว จงประพฤติพรหมจรรย์ เพื่อทำที่สุดแห่งทุกข์โดยชอบเถิด หรือเพียงว่า มาเถิดภิกษุ จงประพฤติพรหมจรรย์เถิด ภิกษุที่ทรงรับใหม่นั้นถือเพศตามเป็นอันเสร็จ ส่วนคฤหัสถ์ผู้ปรารถนาจะเป็นภิกษุก็แสดงตน และทรงรับเหมือนอย่างนั้น 
ผู้ขอบรรพชาอุปสมบทต่อพระสาวก รับถือเพศตามก่อนแล้วเปล่งวาจาถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์เป็นสรณะ สามครั้ง เป็นอันเสร็จ ต่อมาภายหลังวิธีนี้ใช้สำหรับรับเข้าเป็นสามเณร พระสงฆ์ประกาศรับเป็นพระภิกษุ 
คฤหัสถ์ผู้ไม่ปรารถนาออกบวช เปล่งวาจาถึงพระพุทธ พระธรรม พระสงฆ์ เป็นสรณะ ปฏิญาณตน ชายเป็นอุบาสก หญิงเป็นอุบาสิกา 
การปฏิญาณตนเป็นผู้นับถือพระพุทธศาสนา ไม่จำทำเฉพาะคราวเดียว ทำซ้ำ ๆ ตามกำลังแห่งศรัทธาและความเลื่อมใส เกิดเป็นประเพณีนิยม แสดงตนเป็นพุทธมามกะสืบต่อเนื่องกันมาสรุปได้ว่า 
เมื่อมีบุตรหลานอายุพอรู้เดียงสา ระหว่าง ๑๒ - ๑๕ ปี ก็ประกอบพิธีให้แสดงตนเป็นพุทธมามกะ เพื่อสืบความเป็นชาวพุทธต่อไป และเมื่อมีบุคคลต่างศาสนาเกิดเลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ต้องการจะประกาศตนเป็นชาวพุทธ ว่านับแต่นี้ไป ตนยอมรับนับถือพระพุทธศาสนาแล้ว จึงมีระเบียบพิธีดังนี้ 
การมอบตัว ผู้ที่ประสงค์จะประกอบพิธีต้องไปมอบตัวกับพระอาจารย์ที่ตนเคารพนับถือ แจ้งความประสงค์ให้ทราบ นำพานดอกไม้รูปเทียนเข้าไปหาพระอาจารย์ คุกเข่าห่างจากตัวพระอาจารย์ ประมาณศอกเศษ ยกพานน้อมตัวประเคน เมื่อพระอาจารย์กับพานแล้ว ให้ขยับตัวถอยออกมาเล็กน้อย แล้วประนมมือก้มกราบด้วยเบญจางคประดิษฐตรงหน้าพระอาจารย์สามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบลง ขอเผดียงสงฆ์ต่อพระอาจารย์ตามจำนวนที่ต้องการ ไม่น้อยกว่าสามรูป รวมเป็นสี่รูปทั้งพระอาจารย์ จากนั้นกราบลาพระอาจารย์ด้วยเบญจางคประดิษฐอีกสามครั้ง 
การเตรียมการ พิธีแสดงตนเป็นพุทธมามกะ ควรประกอบขึ้นในวัดจะเหมาะที่สุด ถ้าจัดทำในพระอุโบสถได้เป็นดี เพราะเป็นสถานที่สำคัญอันเป็นหลักของวัด ไม่ควรจัดในที่กลางแจ้ง ควรตั้งโต๊ะบูชามีพระพุทธรูปเป็นประธาน 
ให้ผู้ที่จะแสดงตนเป็นพุทธมามกะนุ่งห่มให้เรียบร้อย นั่งรอในที่ที่ทางวัดจัดไว้ เมื่อถึงเวลากำหนด พระอาจารย์และพระสงฆ์เข้าสู่บริเวณพิธี กราบพระพุทธรูปประธานแล้วเข้านั่งประจำอาสนะ ให้ผู้แสดงตนเป็นพุทธมามกะเข้าไปคุกเข่าหน้าโต๊ะบูชา จุดธูปเทียนและวางดอกไม้บูชาพระ ระลึกถึงคุณพระรัตนตรัยเปล่งวาจาว่า 
อิมินา สกฺกาเรน พุทธํ ปูเชมิ ข้าพเจ้าขอบูชาพระพุทธเจ้าด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) 
อิมินา สกฺกาเรน ธมฺมํ ปูเชมิ ข้าพเจ้าขอบูชาพระธรรมด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) 
อิมินา สกฺกาเรน สงฺฆํ ปูเชมิ ข้าพเจ้าขอบูชาพระสงฆ์ด้วยเครื่องสักการะนี้ (กราบ) 
จากนั้น เข้าไปสู่ที่ประชุมสงฆ์ตรงหน้าพระอาจารย์ ถวายพานเครื่องสักการะแก่พระอาจารย์ แล้วกราบพระสงฆ์ตรงหน้าพระอาจารย์ด้วยเบญจางคประดิษฐสามครั้ง เสร็จแล้วคงคุกเข่าประนมมือเปล่งคำปฏิญาณต่อหน้าพระสงฆ์ เป็นตอนไป ดังนี้ 
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแต่พระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น 
(เปล่งวาจา สาม ครั้ง ) 
เอสาหํ ภนฺเต สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ 
ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ พุทฺธมามโกติ มํ สํโฆ ธาเรตุ 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าถึงพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น แม้ปรินิพพานไปนานแล้ว ทั้งพระธรรมและพระสงฆ์ เป็นสรณะที่ระลึกนับถือ พระพระสงฆ์จงจำข้าพเจ้าไว้ว่าเป็นพุทธมามกะ ผู้รับเอาพระพุทธเจ้าเป็นของตนคือ ผู้นับถือพระพุทธเจ้า ถ้าปฏิญาณพร้อมกันหลายคนทั้งชายหญิง คำปฏิญาณให้เปลี่ยนไปดังนี้ 
เอสาหํ ถ้าเป็นชายว่า เอเต มยํ ถ้าเป็นหญิงว่า เอตา มยํ 
คจฺฉามิ เป็น คจฺฉาม (ทั้งชายและหญิง) 
พุทฺธมามโกติ เป็น พุทธมามกาติ (ทั้งชายและหญิง) 
ม ํ เป็น โน (ทั้งชายและหญิง) 
เมื่อผู้ปฏิญาณกล่าวคำปฏิญาณจบแล้ว พระสงฆ์ทั้งนั้นประนมมือรับ "สาธุ" พร้อมกัน ต่อจากนั้นให้ผู้ปฏิญาณนั่งพับเพียบแล้วประนมมือฟังโอวาทต่อไป เมื่อจบโอวาทแล้ว ผู้ปฏิญาณรับคำว่า "สาธุ" แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือน้อมตัวลงเล็กน้อย กล่าวคำอาราธนาเบญจศีล และสมาทานศีล ตามคำที่พระอาจารย์ให้ ดังนี้ 
ผู้ปฏิญาณอาราธนาศีล 
อหํ ภนฺเต วิสุ ํ วิสุ ํ รกฺขนตฺ ถาย ติสรเณน สห ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ 
ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต วิสุ ํ วิสุ ํ รกฺขนตฺ ถาย ติสรเณน สห ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ 
ตะติยมฺปิ อหํ ภนฺเต วิสุ ํ วิสุ ํ รกฺขนตฺ ถาย ติสรเณน สห ปญฺจ สีลานิ ยาจามิ 
ถ้าสมาทานพร้อมกันหลายคน ให้เปลี่ยนคำ อหํ เป็น มยํ และเปลี่ยนคำ ยาจามิ เป็นยาจาม 
คำสมาทานเบญจศีล 
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺ ธสฺส ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภาค อรหันต สัมมาสัมพุทธเจ้านั้น 
(เปล่งวาจา สามครั้ง) 
พระอาจารย์ว่า ยมหํ วทามิ ตํ วเทหิ ผู้ปฏิญาณรับว่า อาม ภนฺเต 
พระอาจารย์ว่านำ ผู้ปฏิญาณว่าตาม ดังนี้ 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก 
ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก 
สงฺฆํ สรรณํ จฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก 
ทุติ ยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่ สอง 
ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่ สอง 
ทุติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่ สอง 
ตติยมฺปิ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระพุทธเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม 
ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระธรรมเจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม 
ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ ข้าพเจ้าถึงพระสงฆ์เจ้าเป็นสรณะที่พึ่งที่ระลึก แม้ครั้งที่สาม 
พระอาจารย์ว่า ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ ผู้ปฏิบัติรับว่า อาม ภนฺเต 
พระอาจารย์ว่านำ ผู้ปฏิบัติว่าตาม 
ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากผลาญชีวิตสัตว์ 
อทินฺนาทานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากถือเอาของที่เขาไม่ได้ให้ 
กาเมสุมิจฉาจารา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากประพฤติผิดในกาม 
มุสาวาทา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากการพูดเท็จ 
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานสิกขาบท เว้นจากสุราและเมรัยอันเป็นฐานแห่งความประมาท 
อิมานิ ปญฺจ สิกฺขา ปทานิ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าสมาทานสิกขาบทห้าเหล่านี้ 
(พระอาจารย์บอกบทนี้จบเดียว ผู้ปฏิญาณพึงว่าซ้ำสามจบ) แล้วพระอาจารย์บอกอานิสงส์ศีลต่อไปว่า 
สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภคสมฺปทา 
สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย 
ผู้ปฏิญาณกราบอีกสามครั้ง ถ้ามีเครื่องไทยธรรมถวายพระสงฆ์ พึงนำมาประเคนในลำดับนี้ เสร็จแล้วนั่งราบตรงหน้าพระอาจารย์ เตรียมกรวดน้ำเมื่อพระสงฆ์ อนุโมทนา ดังนี้ 
ค ยถา ฯลฯ 
ค สพฺพีติโย ฯลฯ 
ค โส อตฺถลทฺโธ ฯลฯ หรือ สา อตฺถลทฺธา ฯลฯ หรือ เต อตฺถลทฺธา ฯลฯ แล้วแต่กรณี 
ภวตุ สพฺพมงฺคลํ 
ขณะพระอาจารย์ว่า ยถา ฯลฯ ผู้ปฏิญาณพึงกรวดน้ำตามแบบ พอพระสงฆ์ว่า สพฺพีติโย ให้กรวดน้ำให้เสร็จแล้วนั่งประนมมือรับพร เมื่อจบแล้วพึงคุกเข่ากราบพระสงฆ์สามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธี 
พิธีรักษาอุโบสถ 

อุโบสถ เป็นเรื่องของกุศลกรรมที่สำคัญประการหนึ่งของพุทธบริษัท แปลว่าการเข้าจำเป็นอุบายขัดเกลากิเลสอย่างหยาบให้เบาบาง และเป็นทางแห่งความสงบระงับ อันเป็นความสุขอย่างสูงสุดในพระพุทธศาสนา อุโบสถของคฤหัสมีสองอย่างคือ ปกติอุโบสถ และปฏิชาครอุโบสถ ทั้งสองอย่างนี้ต่างกันที่จำนวนวันที่รักษาอุโบสถมากน้อยกว่ากัน โดยเนื้อแท้ก็คือการสมาทานศีลแปดอย่างเคร่งครัด 
การรักษาอุโบสถ ประกอบด้วยพิธีกรรม ดังนี้ 
เมื่อตั้งใจจะรักษาอุโบสถ ในวันพระใด พอได้เวลารุ่งอรุณพึงเตรียมตัวให้สะอาด แล้วบูชาพระ เปล่งวาจาอธิษฐานอุโบสถด้วยตนเองก่อนว่า 
อิมํ อฏฺฐงฺคสมนฺนาคต ํ พุทฺธปญฺญตฺต ํ อุโปสถ ํ อิมญฺจ รตฺตึ อมญฺจ ทิวส ํ สมฺมเทว อภิรกฺขนฺตุ สมาทิยามิ ข้าพเจ้าขอสมาทานอุโบสถพุทธบัญญัติ ประกอบด้วยองค์แปดประการนี้ เพื่อจะรักษาไว้ให้ดี มิให้ขาดหาย ตลอดคืนหนึ่ง และวันหนึ่งในเวลาวันนี้ 
จากนั้นจึงไปที่วัดเพื่อรับสมาทานอุโบสถศีล ต่อพระสงฆ์ตามประเพณี 
โดยปกติวันอุโบสถนั้นเป็นวันธรรมสวนะ พระสงฆ์และสามเณรย่อมลงประชุมกันในพระอุโบสถ หรือศาลาการเปรียญ ประมาณ ๐๙.๐๐ น. ต่อหน้าอุบาสกอุบาสิกาแล้วทำวัตรเช้า พอทำวัตรเสร็จ อุบาสก อุบาสิกาพึงทำวัตรเช้าร่วมกัน เมื่อทำวัตรจบแล้ว พึงคุกเข่าประนมมือประกาศอุโบสถ ดังนี้ 
อชฺช โภนฺโต ปกฺ ขสฺส อฏฺมีทิวโส เอวรูโป โข โภนฺโต ทิวโส, พุทฺเธน ภควตา ปญฺญตฺตสฺส ธมฺมสฺสวนสฺส เจว, ตทตฺ ถาย อุปาสก อุปาสิกาน ํ อุโปสถสฺส จ กาโล โหติ , หนฺท มย ํ โภนฺโต สพฺเพ อิธ สมาคตา ตสฺส ภควโต ธมฺมานธมฺมปฏิปตฺติยา ปูชนตฺถาย ,อิมญฺจ รตฺตึ อิมญฺจ ทิวส ํ อฏฺฐงฺคสมนฺนาคต ํ อุโปสถํ อุปวสีสฺสามาติ, กาลปริจฺเฉท ํ กตฺวา ต ํ ตํ เวรมณี อารมฺมณ ํ กริตฺวา อวิกฺขิตฺตจิตฺต ํ หุตฺวา สกฺกจฺจ ํ อุโปสถ ํ สมาทิเยยฺยาม อีทิสํ หิ อุโปสถ ํ สมฺปตฺตานํ อมฺหากํ ชีวิตํ มนิรตฺ ถกํ โหตุ 
ขอประกาศเริ่มเรื่องความที่จะสมาทานรักษาอุโบสถ อันพร้อมไปด้วยองค์แปดประการ ให้สาธุชนที่ได้ตั้งจิตสมาทานทราบทั่วกันก่อน แต่สมาทาน ณ บัดนี้ ด้วยวันนี้เป็นอัฐมีดิถีที่แปด แห่งปักษ์มาถึงแล้ว วันเช่นนี้เป็นการที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงบัญญัติไว้ให้ประชุมกันฟังธรรม และเป็นการรักษาอุโบสถ ของอุบาสกอุบาสิกาทั้งหลาย เพื่อประโยชน์แก่การฟังธรรมนั้นด้วย เราทั้งหลายที่ได้มาประชุมพร้อมกัน ณ ที่นี้ พึงกำหนดกาลว่าจะรักษาอุโบสถตลอดกาลวันหนึ่งกับคืนหนึ่ง พึงทำความเว้นโทษนั้น ๆ เป็นอารมณ์ อย่าให้มีจิตฟุ้งซ่านส่งไปอื่น พึงสมาทานองค์อุโบสถแปดประการโดยเคารพ เพื่อบูชาพระผู้มีพระภาคเจ้านั้นด้วยธรรมานุธรรมปฏิบัติ ชีวิตของเราทั้งหลายที่ได้เป็นอยู่รอดมาถึงวันอุโบสถเช่นนี้ จงอย่าได้ล่วงไปเสียเปล่าจากประโยชน์เลย 
คำประกาศนี้สำหรับวันพระแปดค่ำทั้งข้างขึ้น และข้างแรม ถ้าเป็นวันพระ ๑๕ ค่ำ เปลี่ยนเป็น ปณฺณรสีทิวโส เปลี่ยนคำแปลว่า วันปัณรสีดิถีที่สิบห้า ถ้าเป็นวันพระ ๑๔ ค่ำ เปลี่ยนเป็น จาตุทฺทสีทิวโส เปลี่ยนคำแปลว่า วันจาตุทฺทสีดิถีที่สิบสี่ 
เมื่อประกาศจบแล้ว พระสงฆ์ผู้แสดงธรรมขึ้นนั่งบนธรรมาสน์ อุบาสก อุบาสิกาทุกคน พึงนั่งคุกเข่า กราบพร้อมกันสามครั้ง แล้วกล่าวคำ อาราธนาอุโบสถศีลพร้อมกัน ดังนี้ 
มยํ ภนฺเต ติสรเณน สห อฏฺฐงฺคสมนฺคตํ อุโปสถํ ยาจาม (ว่าสามจบ) 
ต่อจากนั้นคอยตั้งใจรับสรณาคมน์และศีลโดยความเคารพ คือประนมมือ และว่าตามคำที่พระสงฆ์บอกเป็นตอน ๆ ดังนี้ 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ.... ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ 
เมื่อพระสงฆ์ว่า ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ พึงรับพร้อมกันว่า อาม ภนฺเต แล้วคอยรับศีลต่อไป ดังนี้ 
ปาณาติปาตา เวรมณี สิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
อทินฺนาทานา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
อพฺรหมฺจริยา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
มุสาวาทา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฐานา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
วิกาลโภชนา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺสนา มาลาคนฺธวิเลปนธารณ มณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
อุจาสยนมหาสยนา เวรมณี สิกขาปทํ สมาทิยามิ 
อิมํ อฏฺฐงฺ สมนาคตํ พุทฺธปญฺญตฺตํ อุโปสถํ อิมญฺจ รตฺตึ อิมญฺจ ทิวสํ สมฺมเทว อภิรกฺ ขิตุ ํ สมาทิยามิ 
ต่อจากนี้พระสงฆ์จะว่า 
อิมานิ อฏฺฐสิกขา ปทานิ อุโปสถวเสน มนสิกรตฺวา สาธุกํ อปฺปมาเทน รกฺขิตพฺพานิ 
พึงรับว่า อาม ภนฺเต 
พระสงฆ์จะว่า อานิสงส์ของศีลต่อไป ดังนี้ 
สีเลน สุคตึ ยนฺติ สีเลน โภคสมฺปทา 
สีเลน นิพฺพุตึ ยนฺติ ตสฺมา สีลํ วิโสธเย 
พึงกราบพร้อมกันสามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบประนมมือฟังธรรมต่อไป เมื่อพระแสดงธรรม 
เมื่อพระสงฆ์แสดงธรรมจบแล้ว ทุกคนพึงให้สาธุการและสวดประกาศตนพร้อมกัน ดังนี้ 
สาธุ สาธุ สาธุ 
อหํ พุทฺธญฺจ ธมฺมญฺจ สงฺฆญฺจ สรณํ คโต 
อุปาสกตฺตํ เทเสสึ ภิกฺขุสงฺฆสฺส สมฺมุขา 
เอตํ เม สรณํ เขมํ เอตํ สรณํมุตฺตมํ 
เอตํ สรณมาคมฺม สพฺพทุกฺข ปมุจฺจเย 
ทุกฺขนิสฺสรณสฺเสว ภาคี อสฺสํ อนาค เต 
ถ้าเป็นหญิง คำว่า คโต เปลี่ยนเป็นคตา คำว่าอุปาสกตฺตํ เป็น อุปาสิกตฺตํ 
คำว่า ภาคี อสฺสํ เป็น ภาคีนิสฺสํ 
เมื่อสวดประกาศจบแล้ว พึงกราบพร้อมกันอีกสามครั้ง เป็นเสร็จพิธีตอนเช้า พอได้เวลาบ่าย หรือเย็นจวนค่ำ พึงประชุมกันทำวัตรค่ำ เมื่อทำวัตรจบแล้ว พึงนั่งคุกเข่ากราบพระสามครั้ง แล้วกล่าวคำอาราธนาพิเศษโดยเฉพาะ ดังนี้ 

จาตุทฺทสี ปณฺณรสี ยา จ ปกฺขสฺส อฏฺฐมี 
กาลา พุทฺเธน ปญฺญตฺตา สทฺธมฺมสฺสวนสฺสิเม 
อฏฺฐมีโข อยนฺทานิ สมฺปตฺตา อภิลกฺขิตา 
เตนายํ ปริสา ธมฺมํ โสตุ ํ อิธ สมาคตา 
สาธุ อยฺโย ภิกฺขุ สงฺโฆ กโรตุ ธมฺมเทสนํ 
อยญฺจ ปริสา สพฺพา อฏฺฐิกตฺวา สุณาตุ ตนฺติ ฯ 
คาถาอาราธนาธรรมนี้ใช้เฉพาะวันพระ ๘ ค่ำ ทั้งข้างขึ้นข้างแรม ถ้าเป็นวันพระ ๑๕ ค่ำ เปลี่ยนคำว่า อฏฺฐมีโข เป็น ปณฺณรสี ถ้าเป็นวันพระ ๑๔ ค่ำ เป็น จาตุทฺทสี 
เมื่ออาราธนาจบแล้ว พระสงฆ์จะขึ้นแสดงธรรม พอเทศน์จบ ทุกคนพึงให้สาธุการ และสวดประกาศตนพร้อมกัน แล้วสวดประกาศต่อท้าย ดังนี้ 
กาเยน วาจาย ว เจตสาวา พุทฺเธ กุกมฺมํ ปกตํ มยา ยํ 
พุทโธ ปฏิคฺคณฺหตุ อจฺจยนฺตํ กาลญฺตเร สํวริตุ ํ ว พุทฺเธ 
กาเยน วาจาย ว เจตสาวา ธมฺเม กุกมฺมํ ปกตํ มยายํ 
ธมฺโม กฏิกฺคณฺหตุ อจฺจยนฺตํ กาลญฺตเร สํวริตุ ํ ว ธมฺเม 
กาเยน วาจาย ว เจตสาวา สงฺเฆ กุกมฺมํ ปกตํ มยายํ 
สงฺโฆ ปฏิกฺคณฺหตุ อจฺจยนตํ กาลญฺตเร สํวริตุ ํ ว สงฺเฆ 
เมื่อสวดประกาศตอนท้ายเทศน์จบแล้ว ลากลับได้ทันที คำลากลับ มีดังนี้ 
หนฺททานิ มยํ ภนฺเต อาปจฺฉาม พาหุกิจจา มยํ พหุกรณียา 
พระสงฆ์ผู้รับการลาพึงกล่าว ดังนี้ 
ยสฺสทานิ ตุมฺเห กาลํ มญฺยถ 
ผู้ลาพึงรับพร้อมกันว่ สาธุ ภนฺเต แล้วกราบพร้อมกันสามครั้งเป็นเสร็จพิธี 
วิธีสวดมนต์ไหว้พระของนักเรียน 
กระทรวงศึกษาธการได้ออกระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ ว่าด้วยการสวดมนต์ไหว้พระของนักเรียน พ.ศ.๒๕๐๓ ซึ่งเป็นวิธีการที่ใช้มาอยู่เดิมก่อนหน้านี้แล้ว มีดังนี้ 
แบบสวดมนต์ไหว้พระประจำวัน (ก่อนเข้าเรียน) 
อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา พุทฺธํ ภควนฺตํ อภิวาเทมิ (กราบ) 
สฺวากฺขาโต ภควาตา ธมฺโม ธมฺมํ นมสฺสามิ (กราบ) 
สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวก สงฺโฆ สงฺฆํ นมามิ (กราบ) 
แบบคำสวดมนต์ไหว้พระวันสุดท้ายของสัปดาห์ (ตอนเลิกเรียน) 
อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ภควา ....สงฺฆํ นมามิ 
สวดบทนมัสการ 
นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส (ว่าสามครั้ง) 
สวดบทพระพุทธคุณ 
อิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมา สมฺพุทฺโธ วิชฺชาจารณสมฺปนฺโน สุคโต โลกวิทู อนุตฺตโร ปุริสทมฺมสารถิ สตฺถาเทวมนุสสานํ พุทฺโธ ภควาติ 
(สวดทำนองสรภัญญะ) 
องค์ใดพระสัมพุทธ สุวิสุทธสันดาน 
ตัดมูลเกลศมาร บ มิหม่น มิหมองมัว 
หนึ่งในพระทัยท่าน ก็เบิกบานคือดอกบัว 
ราคี บ พันพัว สุวคนธกำจร 
องค์ใดประกอบด้วย พระกรุณาดังสาคร 
โปรดหมู่ประชากร มละโอฆกันดาร 
ชี้ทางบรรเทาทุกข์ และชี้สุขเกษมสานต์ 
ชี้ทางพระนฤพาน อันพ้นโศกวิโยคภัย 
พร้อมเบญจพิธจัก ษุจรัสวิมลใส 
เห็นเหตุที่ใกล้ไกล ก็เจนจบประจักษ์จริง 
กำจัดน้ำใจหยาบ สันดานบาปแห่งชายหญิง 
สัตว์โลกได้พึ่งพิง มละบาปบำเพ็ญบุญ 
ข้าขอประณตน้อม ศิระเกล้าบังคมคุณ 
สัมพุทธการุญ ญภาพนั้นนิรันดร ฯ (กราบ) 
สวดบทพระธรรมคุณ 
สวากฺ ขาโต ภควตา ธมฺโม สนฺทิฏฺฐิโก อกาลิโก เอหิปสฺสิโก โอปนยิโก ปจฺจตฺตํ เวทิตพฺโพ วิญฺญู หีติ 
(สวดทำนองสรภญญะ) 
ธรรมะคือคุณากร ส่วนชอบสาธร 
ดุจดวงประทีปชัชวาล 
แห่งองค์พระศาสดาจารย์ ส่องสัตว์สันดาน 
สว่างกระจ่างใจมล 
ธรรมใดนับโดยมรรคผล เป็นแปดพึงยล 
และเก้ากับทั้งนฤพาน 
สมญาโลกอุดรพิสดาร อันลึกโอฬาร 
พิสุทธิ์พิเศษสุกใส 
อีกธรรมต้นทางครรไล นามขนานขานไข 
ปฏิบัติปริยัติเป็นสอง 
คือทางดำเนินดุจคลอง ให้ล่วงลุปอง 
ยังโลกอุดรโดยตรง 
ข้าขอโอนอ่อนอุตมงค์ นบธรรมจำนง 
ด้วยจิต และกายวาจา ฯ (กราบ) 
สวดบทพระสังฆคุณ 
สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ อุชุปฏิปันโน ภควโต สาวกสงฺโฆ 
ญายปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ สามีจิปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ 
ยทิทํ จตฺตาริ ปุริสยุคานิ อฏฺฐปุริสปุคคลา เอส ภควโต สาวกสงฺโฆ 
อาหุเนยฺโย ปาหุเนยฺโย ทกฺขิเนยฺโย อญฺชลีกรณีโย อนุตฺตรํ ปุญญกฺเขตฺตํ โลกสฺสาติ 
(สวดทำนองสรภัญญะ) 
สงฆ์ใดสาวกศาสดา รับปฏิบัติมา 
แต่องค์สมเด็จภควัน 
เห็นแจ้งจตุสัจเสร็จบรร ลุทางที่อัน 
ระงับและดับทุกข์ภัย 
โดยเสด็จพระผู้ตรัสไตร ปัญญาผ่องใส 
สะอาดและปราศมัวหมอง 
เหินห่างทางข้าศึกปอง บ มิลำพอง 
ด้วยกายและวาจาใจ 
เป็นเนื้อนาบุญ อันไพ ศาลแก่โลกัย 
และเกิดพิบูลย์พูนผล 
สมญาเอารสทศพล มีคุณอนนต์ 
เอนกจะนับเหลือตรา 
ข้าขอนบหมู่พระศรา พกทรงคุณา 
นุคุณประดุจรำพัน 
ด้วยเดชบุญข้าอภิวันท์ พระไตรรัตน์อัน 
อุดมดิเรกนิรัตศัย 
จงช่วยขจัดโพยภัย อันตรายใดใด 
จงดับและกลับเสื่อมสูญ (กราบ) 
บทสวดชัยสิทธิคาถา 
พาหุ ํ สหสฺ สมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ คฺรีเมขลํ อุทิตโฆรสเสนมารํ 
ทานาทิธมฺมวิธินา ชิตวา มุนินฺโท ตนฺ เตชสา ภวตุเต ชยสิทฺธิ นิจฺจํ 
(สวดทำนองสรภญญะ) 
ปางเมื่อพระองค์ปะระมะพุท ธะวิสุทธะศาสดา 
ตรัสรู้อนุตตะระสะมา ธิ ณ โพธิบัลลังก์ 
ขุนมารสหัสสะพหุพา หุวิชาวิชิตขลัง 
ขี่คีริเมขะละประทัง คชะเหี้ยมกระเหิมหาญ 
แสร้งเสกสะราวุธะประดิษฐ์ กละคิดจะรอนราญ 
รุมพลพหลุพยุหปาน พระสมุททะนองมา 
หวังเพื่อผจญวะระมุนิน ทะสุธินะราชา 
พระปราบพหล พยุหะมา ระมะเลืองมะลายสูญ 
ด้วยเดชะองค์พระทศพล สุวิมละไพบูลย์ 
ทานาทิธรรมะวิธิกูล ชยะน้อมมโนตาม 
ด้วยเดชะสัจจะวะจะนา และนมามิองค์สาม 
ขอจงนิกรพละสยาม ชยะสิทธิทุกวาร 
ถึงแม้จะมีอริวิเศษ พละเดชะเทียมมาร 
ขอไทยผจญพิชิตะผลาญ อริแม้นมุนินทร ฯ (กราบ ๓ ครั้ง) 
สวดบทเคารพคุณมารดาบิดา 
อนนฺตคุณสมฺปนฺนา ชเนตฺติ ชน กา อุโภ 
มยฺหํ มาตา ปิตูนํว ปาเท วันทามิ สาทรํ 
สวดบทเคารพคุณมารครูอาจารย์ 
ปาเจราจริยา โหนติ คุณุตฺตรา นุสาสกา 
ข้าขอนบน้อม สักการ บูรพคณาจารย์ 
ผู้กอปรประโยชน์ศึกษา 
ทั้งท่านผู้ประสาทวิชา อบรมจริยา 
แด่ข้าในกาลปัจจุบัน 
ข้าขอเคารพอภิวันท์ ระลึกคุณอนันต์ 
ด้วยใจนิยมบูชา 
ขอเดชกตเวทิตา อีกวิริยะพา 
ปัญญาให้เกิดแตกฉาน 
ศึกษาสำเร็จทุกประการ อายุยืนนาน 
อยู่ในศีลธรรมอันดี 
ให้เกิดเป็นเกียรติเป็นศรี ประโยชน์ทวี 
แด่ชาติและประเทศไทย เทอญ 
ปญฺญาวุฒิกเรเตเต ทินฺโนวาเท นมามิหํ 
บทสรรเสริญพระบารมี 
ข้าวรพุทธเจ้า เอามโนและศิระกราน 
นบพระภูมิบาล บุญญดิเรก 
เอกบรมจักรินทร์ พระสยามมินทร์ 
พระยศยิ่งยง เย็นศิระเพราะพระบริบาล 
ผลพระคุณ ธ รักษา ปวงประชาเป็นสุขศานต์ 
ขอบันดาล ธ ประสงค์ใด จงสฤษฏ์ดัง 
หวังวรหฤทัย ดุจถวายชัย ชโย ฯ 
พิธีเวียนเทียนในวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 

วันสำคัญในทางพระพุทธศาสนา ที่พุทธศาสนิกชนนิยมประกอบพิธีกรรม มีการบูชาเพื่อระลึกถึงคุณ พระรัตนตรัยเป็นพิเศษ แต่เดิมกำหนดไว้สามวัน คือ วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา และวันมาฆบูชา ต่อมาได้เพิ่มวันอาสาฬบูชา เข้ามาอีกวันหนึ่ง รวมเป็นสี่วัน 
วันวิสาขบูชา 
คือวันเพ็ญเดือนหก สำหรับปีที่มีอธิกมาสเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญเดือนเจ็ด วันนี้เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ซึ่งทั้งสามกาลสมัยของพระพุทธองค์ตกอยู่ในวันเพ็ญเดือนวิสาขะ ด้วยเหตุนี้พุทธศาสนิกชนจึงนิยมทำการบูชาเป็นพิเศษ เมื่อวันดังกล่าวเวียนมาถึงทุกปี และเรียกวันนี้ว่า วันวิสาขบูชา 
วันอัฏฐมีบูชา 
คือวันแรม ๘ ค่ำ เดือนหก หรือเดือนเจ็ด นับถัดจากวันวิสาขบูชาไปเจ็ดวัน เป็นวันคล้ายวันถวายพระเพลิงพระพุทธสรีระที่เมืองกุสินารา นับว่าเป็นวันที่ระลึกถึงพระพุทธองค์อีกหนึ่งวัน พุทธศาสนิกชนจึงนิยมทำการบูชาพิเศษอีกวันหนึ่ง 
วันมาฆบูชา 



คือวันเพ็ญเดือนสาม ถ้าปีใดมีอธิกมาส ก็จะเลื่อนไปเป็นวันเพ็ญเดือนสี่ เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงโอวาทปาติโมกข์ อันเป็นหลักของพระพุทธศาสนา เป็นครั้งแรกและครั้งเดียวเท่านั้น ในท่ามกลางพระภิกษุสงฆ์จำนวน ๑,๒๕๐ รูป ซึ่งล้วนเป็นพระอรหันต์ขีณาสพ มาประชุมพร้อมกันโดยมิได้นัดหมาย ในปีแรกที่พระพุทธองค์ตรัสรู้ และเริ่มประกาศพระศาสนาเป็นเหตุการณ์ที่น่าอัศจรรย์ เรียกว่า จาตุรงคสันนิบาต เพราะเป็นการประชุมที่ประกอบด้วยองค์สี่ คือ พระภิกษุสงฆ์ที่มาประชุม จำนวน ๑,๒๕๐ รูป เป็นจำนวนที่พระพุทธองค์ได้ในการมาประกาศพระศาสนาในกรุงราชคฤห์ เป็นครั้งแรกและปีแรกที่ทรงตรัสรู้ ท่านเหล่านั้นล้วนเป็นพระอรหันต์ขีณาสพ ท่านเหล่านั้นล้วนเป็นเอหิภิกขุ ผู้อุปสมบทมาแต่สำนักพระพุทธองค์ ท่านเหล่านั้นได้มาประชุมกันเองโดยมิได้นัดหมาย และวันที่ประชุมเป็นวันเพ็ญเดือนมาฆะ 
วันอาสาฬหบูชา 
คือวันเพ็ญเดือนแปดก่อนวันเข้าปุริมพรรษา ๑ วัน เป็นวันคล้ายวันที่พระพุทธเจ้าทรงแสดงปฐมเทศนา ชื่อ ธัมมจักกัปวัตตนุสูตร โปรดปัญจวัคคีย์ที่ป่าอิสิปตนมฤคทายวัน แขวงเมืองพาราณสี หลังจากทรงตรัสรู้ได้สองเดือน ผลแห่งพระธรรมเทศนานี้ ทำให้พระโกณทัญญะ หนึ่งในปัจจวัคคีย์ได้ธรรมจักษุ คือได้ดวงตาเห็นธรรม ทูลขออุปสมบทต่อพระพุทธองค์ เป็นพระอริยสงฆ์องค์แรกในพระพุทธศาสนา วันนี้นอกจากจะเป็นวันแห่งพระธรรมแล้ว ยังเป็นแห่งพระสงฆ์ด้วย ทำให้เกิดพระรัตนตรัยครบถ้วน จึงนับเป็นวันสำคัญทางพระพุทธศาสนา 
ระเบียบพิธี 

การบูชาพิเศษในวันสำคัญทั้งสี่วันดังกล่าวแล้ว คือ การเวียนเทียน นอกเหนือไปจากจากประชุมทำวัตร สวดมนต์ และฟังเทศน์ 
การเวียนเทียน คือการที่พุทธศาสนิกชน ถือดอกไม้ธูปเทียนจุดธูปเทียนแล้วประนมมือเดินเวียนขวา ที่เรียกว่า ทำประทักษิณ รอบปูชนียวัตถุในวัด หรือในสถานที่แห่งใดแห่งหนึ่ง จำนวนสามรอบ ส่งใจระลึกถึงพระรัตนตรัยขณะเดินเวียนเทียนอยู่ เสร็จแล้วนำดอกไม้ธูปเทียนไปบูชาปูชนียวัตถุ ที่เดินเวียนรอบนั้น เป็นการแสดงความเคารพอย่างสูงด้วยเครื่องสักการะบูชา 
พิธีเวียนเทียนในวันสำคัญทั้งสี่วัน มีระเบียบปฏิบัติเหมือนกัน ต่างกันแต่คำบูชาก่อนเวียนเทียนเมื่อถึงเวลากำหนด ทางวัดจะตีระฆังสัญญาณให้พุทธบริษัท ทั้งภิกษุสามเณร อุบาสก และอุบาสิกา ประชุมพร้อมกันที่หน้าพระอุโบสถหรือลานพระเจดีย์ อันเป็นหลักของวัดนั้น ๆ พระภิกษุอยู่แถวหน้า ถัดไปเป็นสามเณร ท้ายสุดเป็นอุบาสก อุบาสิกา เมื่อพร้อมแล้วทุกคนจุดเทียนและธูป จากนั้นถือดอกไม้ธูปเทียนประนมมือ หันหน้าเข้าหาปูชนียสถานที่จะเวียนนั้น ว่านะโมตัสสะ... พร้อมกันสามจบ ต่อจากนั้นว่าคำถวายดอกไม้ธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย จากนั้นเดินด้วยอาการประนม มือดอกไม้ธูปเทียน นั้นไปทางขวาของสถานที่ที่เวียน ระหว่างเดินเวียนพึงตั้งใจระลึกถึง พระพุทธคุณ โดยนัยบท อิติปิโส ภควา ในรอบแรก ระลึกถึงพระธรรมคุณ โดยนัยบท สฺวากฺขาโต ภควตา ธมฺโม ฯลฯ ในรอบที่สอง และระลึกถึงพระสังฆคุณ โดยนัยบท สุปฏิปนฺโน ภควโต สาวกสงฺโฆ ในรอบที่สาม 
เมื่อครบสามรอบแล้ว นำดอกไม้ธูปเทียนไปวางบูชาไว้ตามที่ที่ได้เตรียมไว้ ต่อจากนั้นจึงเข้าไปประชุมพร้อมกันในพระอุโบสถ วิหาร หรือศาลาการเปรียญ เริ่มทำวัตรค่ำ และสวดมนต์ทั้งบรรพชิตและคฤหัสถ์ อย่างพิธีกรรมวันธรรมสวนะธรรมดา เสร็จแล้วมีเทศน์พิเศษที่เกี่ยวกับวันสำคัญนั้น ๆ ๑ กัณฑ์ เป็นอันเสร็จพิธี 
พิธีกรรมที่สงฆ์พึงปฏิบัติ 
พิธีเข้าพรรษา 

การเข้าพรรษา คือการที่พระภิกษุผูกใจว่าจะอยู่ประจำเสนาสนะวัดใดวัดหนึ่งตลอดเวลาสามเดือนในฤดูฝน ไม่ไปค้างแรมให้ล่วงราตรีในที่แห่งอื่นระหว่างที่ผูกใจนั้น 
ฤดูฝนสามเดือนนับแต่วันแรมหนึ่งค่ำเดือนแปด ถึงวันเพ็ญเดือนสิบเอ็ด 
การเข้าพรรษามีระเบียบพิธีดังนี้ 
เมื่อถึงวันเข้าพรรษา พระภิกษุ สามเณรทั้งหมดในวัดเตรียมดอกไม้ธูปเทียน หรือภาชนะที่สมควรเพื่อใช้สักการะปูชนียวัตถุต่าง ๆ ในวัด และใช้สามีจิกรรมกันตามธรรมเนียม การประกอบพิธีต้องประชุมพร้อมกันในพระอุโบสถในตอนเย็นก่อนค่ำ 
ก่อนหน้าวันนี้หนึ่งหรือสองวัน มักมีธรรมเนียมสำหรับทายกทายิกา นำเครื่องสักการะมาถวายภิกษุสามเณรที่ตนเคารพนับถือ มีดอกไม้ ธูปเทียน ผ้าอาบน้ำฝน เป็นต้น นอกจากนี้ยังนิยมหล่อเทียนขนาดใหญ่ กะให้จุดตลอดสามเดือนถวายสงฆ์ เพื่อจุดเป็นพุทธบูชา ในพระอุโบสถ เริ่มแต่วันเข้าพรรษา บางแห่งร่วมกันหล่อเทียนเป็นงานใหญ่ก่อนวันเข้าพรรษาเจ็ดวันก็มี 
เมื่อถึงกำหนดเวลาตีระฆังสัญญาณ ให้ภิกษุสามเณรลงพร้อมกันในพระอุโบสถ จัดให้นั่งตามลำดับอาวุโส ไม่ใช่นั่งตามศักดิ์ เรียงแถวจากขวามือไปซ้ายมือ หันหน้าเข้าหาพระพุทธรูปประธาน เป็นแถว ๆ ไป สามเณรแยกกลุ่มออกไปให้พ้นหัตถบาสของกลุ่มภิกษุ 
กรณียที่พึงปฏิบัติต่อไปคือ ทำวัตรเย็น แสดงพระธรรมเทศนา หรืออ่านประกาศ วัสสูปนายิกากถา ทำสามิจิกรรมคือขอขมาโทษต่อกัน อธิษฐานพรรษา เจริญพระพุทธมนต์ และสักการะบูชาปูชนียวัตถุภายในวัด 
คำประกาศเรื่องวัสสูปนายิกา ควรมีสาระสำคัญดังนี้ 
๑) บอกให้รู้เรื่องเข้าพรรษา 
๒) แสดงที่มาในบาลีวัสสูปนายิกาขันธกะวินัย โดยใจความ 
๓) บอกเขตของวัดนั้น ๆ ที่จะต้องรักษาพรรษา หรือที่เรียกกันว่ารักษาอรุณ 
๔) บอกเรื่องการถือเสนาสนะ และประกาศให้รู้ว่า จะให้ถืออย่างไร และจะต้องปฏิบัติอย่างไร 
การทำสามีจิกรรม ขอขมาโทษต่อกัน เป็นหน้าที่ของภิกษุสามเณรทุกรูปในวัดนั้น ๆ จะต้องทำตามวินัยนิยม ควรทำร่วมกันทั้งวัดให้เสร็จภายในพระอุโบสถในวันเข้าพรรษา ทำเรียงตามลำดับอาวุโส มีระเบียบพึงปฏิบัติดังนี้ 
๑) ผู้รับขมาโทษ นั่งพับเพียบหันหน้ามาทางผู้ขอขมา เมื่อผู้ขอขมากราบเริ่มประนมมือรับ 
๒) ผู้ขอขมาโทษคุกเข่ากราบสามครั้ง เฉพาะรูปที่เป็นพระสังฆเถระและเจ้าอาวาส 
๓) กราบแล้วยกพานเครื่องสักการะขึ้นประคองแค่อกน้อมกายลงเล็กน้อย กล่าวคำขอขมา 
๔) เมื่อผู้รับขมากล่าวคำอภัยโทษตามแบบแล้ว ผู้ขอขมาทั้งหมดรับคำให้อภัยตามแบบพร้อมกัน ด้วยอาการยกพานเครื่องสักการะขึ้นในท่าจบเล็กน้อย 
๕) เสร็จจากรูปหนึ่งแล้วทำกับอีกรูปหนึ่ง ต่อเนื่องกันไปจนถึงสามเณรรูปสุดท้ายเป็นอันเสร็จพิธี 
การอธิษฐานพรรษา เมื่อเสร็จพิธีเบื้องต้นแล้ว ให้ภิกษุสามเณรทั้งหมดคุกเข่าพร้อมกัน หันหน้าไปทางพระพุทธรูปประธาน กราบพระสามครั้ง แล้วพระเถระผู้เป็นประธานนำประนมมือว่า นโมพร้อมกันสามจบ จากนั้นเปล่งคำอธิษฐานพรรษาพร้อมกันสามจบว่า 
อิมสฺสึ อาวาเส เตมาสํ วสฺสํ อุเปมิ แล้วกราบพระอีกสามครั้ง จากนั้นนั่งพับเพียบราบ 
การเจริญพระพุทธมนต์ต่อท้ายอธิษฐานพรรษา จะสวดบทใดแล้วแต่จะเห็นสมควร 
พิธีถือนิสัย 
การถือนิสัยเป็นธรรมเนียมในพระวินัย พระภิกษุผู้ยังอยู่ในเขตเป็นนวกะคือพรรษายังไม่พ้นห้า จะต้องถือนิสัยต่อพระภิกษุผู้ใหญ่ในสำนักที่ตนอาศัยอยู่ และสามเณรทุกรูป ถ้ามิได้อยู่ในสำนักพระอุปัชฌายะ สมควรถือนิสัยต่อพระภิกษุผู้ใหญ่ในสำนักที่ตนอาศัยอยู่ พระภิกษุนวกะหรือสามเณร ถ้าเป็นผู้ย้ายมาจากสำนักอื่น ที่เรียกว่าพระอาคันตุกะ หรือสามเณรอาคันตุกะ ทุกรูปต้องประกอบพิธีถือนิสัยต่อท่านเจ้าอาวาสที่ตนมาสำนักใหม่นั้น ตั้งแต่ในระยะแรกที่ย้ายเข้ามา แต่ถือเป็นธรรมเนียมว่า พิธีถือนิสัยนี้ควรทำในวันเข้าพรรษาพร้อมกับพิธีเข้าพรรษาต่อหน้าพระสงฆ์ สามเณรทั้งวัดที่ชุมนุมกันเพื่อประกอบพิธีพรรษาในวันนั้น 
การถือนิสัยมีระเบียบพิธีดังนี้ 
ภิกษุสามเณรผู้จะประกอบพิธีถือนิสัย พึงเตรียมเครื่องสักการะ มีพาน หรือกระบะใส่ดอกไม้กระทงหรือดอกบัวหนึ่งดอก และวางธูปสามดอกเทียนหนึ่งเล่ม แล้วพึงปฏิบัติดังนี้ 
๑) เข้าไปนั่งยังที่ที่จัดเตรียมไว้ พร้อมแล้วเจ้าอาวาสจะมานั่งรับอยู่ข้างหน้า 
๒) คุกเข่าขึ้นพร้อมกัน กราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์ สามครั้ง 
๓) ใช้สองมือยกเครื่องสักการะถือประคองแค่อก น้อมตัวลงเล็กน้อย แล้วกล่าวคำขอนิสัยต่ออาจารย์ตามแบบในพระวินัย 
๔) กล่าวคำปฏิญาณท้ายคำขอนิสัยจบแล้ว พึงประเคนเครื่องสักการะต่ออาจารย์ แล้วถอยกลับมาคุกเข่าอยู่ที่เดิม แล้วกราบอาจารย์สามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบประนมมือ ฟังโอวาทของอาจารย์ จบโอวาทแล้วเป็นอันเสร็จพิธี 
พิธีทำสามีจิกรรม 
การทำสามีจิกรรม เป็นธรรมเนียมของสงฆ์อย่างหนึ่ง ที่ภิกษุสามเณรพึงทำความชอบต่อกันเพื่อความสามัคคี อยู่ร่วมกันด้วยความสงบนสุข หมายถึงการขอขมาโทษกัน ให้อภัยกัน โอกาสที่ควรทำสามีจิกรรมโดยนิยมมีดังนี้ 
๑) ในวันเข้าพรรษา ทำกับภิกษุสามเณรในวัดเดียวกัน 
๒) ในระยะเข้าพรรษา หลังเข้าพรรษาระยะประมาณเจ็ดวัน ทำกับท่านที่เคารพนับถือ ซึ่งอยู่ต่างวัดกัน 
๓) ในโอกาสที่จะจากกันไปอยู่วัดอื่น หรือถิ่นอื่น นิยมทำต่อผู้มีอาวุโสกว่า เป็นการลาจากกัน 
สามีจิกรรมแบบขอขมาลาโทษ ทำนอกพระอุโบสถ หรือนอกวัด 
๑) จัดเครื่องสักการะ คือ ดอกไม้ ธูปเทียน ครองผ้าให้เรียบร้อย ถ้าเป็นพระภิกษุให้พาดสังฆาฏิด้วย 
๒) ถือพานดอกไม้ ธูปเทียน ประคองสองมือเข้าไปหาท่านที่จะขอขมา คุกเข่าลงตรงหน้า ระยะห่างกันศอกเศษ วางพานทางซ้ายมือของตน กราบด้วยเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วยกพานขึ้นประคองสองมือแค่อก กล่าวคำขอขมา 
๓) เมื่อท่านที่ตนขอขมากล่าวคำให้อภัยโทษแล้ว พึงรับคำตามแบบนิยม ถ้าท่านที่ตนขอขมาให้พรต่อท้าย พึงรับคำว่า สาธุ ภนฺเต แล้วน้อมพานเข้าไปประเคน และกราบอีกสามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธี 
สามีจิกรรม แบบถวายสักการะ เตรียมเครื่องสักการะอย่างเดียวแบบขอขมา ในการทำแบบนี้ผู้ที่ตนทำไม่จำเป็นต้องแก่อาวุโสกว่าตน ถ้าตนอาวุโสอ่อนกว่าพึงกราบสามครั้ง ถ้าอาวุโสแก่กว่าไม่ต้องกราบ เพียงแต่รับไหว้โดยนั่งพับเพียบประนมมือในเมื่อผู้อ่อนอาวุโสกว่ากราบ เป็นอันเสร็จพิธี 
คำขอขมาและคำอวยพร (เว้น) 
พิธีทำวัตรสวดมนต์ 
การทำวัตร คือการทำกิจวัตรของพระภิกษุสามเณรและ อุบาสก อุบาสิกา เป็นการทำกิจที่ต้องกระทำเป็นประจำ จนเป็นวัตรปฏิบัติเรียกสั้น ๆ ว่า ทำวัตร ภิกษุสามเณร และอุบาสก อุบาสิกา ผู้เข้าวัดรักษาศีลอุโบสถเป็นประจำ มีหน้าที่ที่ต้องปฏิบัติประจำอย่างหนึ่งคือ ทำวัตร และต้องทำประจำ วันละสองเวลา คือเช้ากับเย็น กิจที่ต้องทำในการทำวัตรคือ สวดบูชาพระรัตนตรัย สวดพิจารณาปัจจัยที่บริโภคทุกวันตามหน้าที่ สวดเจริญกัมมัฏฐานตามสมควร และสวดอนุโมทนาทานของทายก กับสวดแผ่ส่วนกุศล 
การสวดมนต์ คือการสวดบทพุทธมนต์ต่าง ๆ ที่เป็นส่วนของพระสูตรก็มี ที่เป็นส่วนของพระปริตรก็มี ที่เป็นส่วนเฉพาะคาถาอันนิยม กำหนดให้นำมาสวดประกอบในการสวดมนต์เป็นประจำก็มี นอกเหนือจากบทสวดทำวัตร เมื่อเรียกรวมการสวดทั้งสองนี้เข้าด้วยกัน ก็เรียกว่า ทำวัตรสวดมนต์ 
ความมุ่งหมายของการทำวัตรสวดมนต์ ถือว่าเป็นอุบายสงบจิต นอกจากนั้นยังมีผลทางพระวินัย ที่สามารถเปลื้องมลทิลบางอย่างในการบริโภคปัจจัย โดยไม่ทันพิจารณาได้ และมีผลในการอนุโมทนาทานของทายกที่ถวายมาเป็นประจำ กับเป็นโอกาสให้ได้แผ่ส่วนบุญของตนแก่ผู้อื่นด้วยจิตใจบริสุทธิ์อีกด้วย 
ได้มีการกำหนดระเบียบและแบบการทำวัตรสวดมนต์ แยกประเภทบุคคลได้เป็นสามแบบใหญ่ ๆ คือ ภิกษุสามเณร อุบาสกอุบาสิกา และเด็กนักเรียน 
แบบทำวัตรสวดมนต์ สำหรับภิกษุสามเณร 
ทำวัตรเช้า ในวันปกติที่ไม่ใช่วันธรรมสวนะ เมื่อเสร็จภัตกิจตอนเช้าแล้ว เวลาประมาณ ๐๙.๐๐ น. ตีระฆัง ภิกษุสามเณรประชุมพร้อมกันที่หอสวดมนต์ หรือในพระอุโบสถ แล้วปฏิบัติกิจวัตรคือ 
๑) เมื่อหัวหน้าลุกขึ้นจุดธูปเทียนหน้าที่บูชา ทั้งหมดลุกขึ้นยืนประนมมือ หรือนั่งคุกเข่าประนมมือ แล้วกล่าวคำบูชาสักการะว่า 
โย โส ภควตา อรหํ สมฺมา สมฺ พุทฺโธ 
๒) จบบูชาสักการะแล้ว กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัย อรหํ สมฺมา สมฺ พุทฺโธ ภควา ฯลฯ 
๓) นโมตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส (ว่าสามจบ) 
๔) สวดบท พุทฺธาภิถุติ ธมฺมาภิถุติ สงฺฆาภิถุติ ต่อกัน 
๕) นั่งราบพับเพียบ แล้วสวดบท รตนตฺตยปฺปณาม คาถา และบท สํเวค ปริกิตฺตนปาฐ ต่อกัน 
๖) ถ้าจะสวดมนต์ประกอบด้วยก็สวดมนต์บทต่าง ๆ ที่กำหนดสวดในตอนเช้า 
๗) จบสวดมนต์แล้ว นำว่าบท ตงฺขณิกปจฺจเวกขณปาฐ แล้วสวดบท ปตฺติทาน คาถา 
ทำวัตรเย็น ในวันปกติ เมื่อถึงเวลากำหนด ก็ตีระฆังสัญญาณเช่นกัน ภิกษุสามเณรลงประชุมในที่กำหนด พร้อมแล้วพึงปฏิบัติกิจวัตรดังนี้ 
๑) ปฏิบัติเช่นเดียวกับ ทำวัตรเช้า 
๒) ว่านโม...แล้วต่อ บท พุทธานุสสติ ต่อด้วยบท พุทธาภิคีติ แล้วกราบขอขมาโทษพระพุทธ 
๓) สวดบท ธมฺมานุสฺสติ ต่อด้วย บท ธมฺมาภิคีติ แล้วกราบขอขมาโทษพระธรรม 
๔) สวดบท สงฺฆานุสฺสติ ต่อด้วยบท สงฺฆาภิคีติ แล้วกราบขอขมาพระสงฆ์ 
๕) นั่งราบพับเพียบ แล้วสวดมนต์ที่กำหนดไว้สวดในตอนเย็น หรือจะสวดเจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน ตามที่เห็นควร 
๖) สวดมนต์จบแล้ว ว่าบท อดีตปจฺจเวกฺขณปาฐ แล้วตามด้วยบท อุทฺทิสนาธิฏฐานคาถา 
พิธีกรรมวันธรรมสวนะ 
วันธรรมสวนะ คือวันกำหนดประชุมฟังธรรมที่เรียกเป็นคำสามัญทั่วไปว่า วันพระ เป็นประเพณีนิยมของพุทธบริษัท ที่ได้ปฏิบัติสืบเนื่องมาแต่ครั้งพุทธกาล โดยถือว่าการฟังธรรมตามกาล ย่อมก่อให้เกิดศิริมงคลและสติปัญญาแก่ผู้ฟัง วันกำหนดฟังธรรมนี้พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติไว้สี่วันในเดือนหนึ่ง ๆ คือ วันแปดค่ำ วัน ๑๔ ค่ำ หรือ ๑๕ ค่ำ ของปักษ์ทั้งข้างขึ้นและข้างแรมทางจันทรคติ ทั้งสี่วันนี้ถือเป็นวันกำหนดประชุมฟังธรรมโดยปกติ และนิยมรักษาปกติอุโบสถ 
การประชุมฟังธรรมในวันธรรมสวนะ มีพิธีกรรมที่ปฏิบัติโดยนิยม ดังนี้ 
๑) ตอนเช้า เวลาประมาณ ๐๙.๐๐ น. ภิกษุสามเณร อุบาสก อุบาสิกา มาประชุมพร้อมกันในสถานที่กำหนดแสดงธรรม จะเป็นอุโบสถ วิหาร ศาการเปรียญภายในวัด มีพระพุทธรูปและที่บูชา ประดิษฐานอยู่ในที่เหมาะสม 
๒) ภิกษุสามเณรทำวัตรเช้า ด้วยการบูชาพระรัตนตรัย (อรหํ สมฺมา สมฺ พุทฺโธ ภควา ฯลฯ) 
๓) สวด ปุพฺพภาคนมการ นโม... 
๔) สวดพุทฺธาภิถุติ (โยโส ตถาคโต) ธมฺมาภิตุติ (โยโส สฺวากฺขาโต...) สงฺฆาภตุติ(โยโส สุปฏิปนฺโน...) 
๕) สวด รตนตฺตยปฺปณามคาถา และ สงฺเวคปริกิตฺคนปาฐ ต่อ (พุทฺโธ สุสุทฺโธ...) 
เมื่อภิกษุสามเณรทำวัตรจบเพียงนี้ อุบาสกอุบาสิกาเริ่มทำวัตรตามบทที่กล่าวแล้วในเรื่องพิธีรักษาอุโบสถ 
เสร็จพิธีทำวัตร ประกาศอุโบสถ พระธรรมกถึกขึ้นธรรมาสน์ อุบาสกอุบาสิกาทั้งหมดคุกเข่าพนมมือกล่าวคำ อาราธนาอุโบสถศีลพร้อมกัน พระธรรมกถึกให้ศีลแปด เป็นอุโบสถศีล รับศีลแล้วพระธรรมกถึกแสดงธรรม พึงประนมมือฟังด้วยความตั้งใจจนจบ 
เมื่อเทศน์จบแล้วกล่าวคำสาธุการตามแบบที่กล่าวในเรื่องการรักษาอุโบสถ 
พิธีทำสังฆอุโบสถ 
สังฆอุโบสถ เป็นธรรมเนียมของพระภิกษุตามพุทธบัญญัติ พระภิกษุทุกรูปต้องทำอุโบสถกรรมทุกกึ่งเดือน ถ้าไม่มีเหตุจำเป็นที่มีพุทธานุญาตไว้ จะเว้นหรือขาดการกระทำเสียมิได้ อุโบสถกรรมนี้ ต้องทำในสีมาชนิดใดชนิดหนึ่งตามพระวินัย วัดส่วนมากมีพัทธสีมาประจำวัด พระภิกษุทั้งวัดต่างร่วมกันทำภายในเขตพัทธสีมา คือโรงอุโบสถทุกวันอุโบสถ ถ้าวัดไหนยังไม่มีพัทธสีมา และจะกำหนดสีมาชนิดอื่นตามพระวินัย ใช้เป็นเขตสังฆกรรมไม่เหมาะ ก็ให้ไปรวมทำกับสงฆ์วัดใกล้ที่สุด อุโบสถกรรมที่พระภิกษุร่วมกันทำตั้งแต่สี่รูปขึ้นไปเรียกว่า สังฆอุโบสถ ทำเป็นการสงฆ์ ต้องสวดพระปาฏิโมกข์ ในท่ามกลางสงฆ์เป็นหลักของการกระทำ ถ้าพระภิกษุต่ำกว่าสี่รูป ร่วมกันทำเรียกว่า ปาริสุทธิอุโบสถ ทำเป็นการคณะห้ามสวดพระปาติโมกข์ ให้พระภิกษุแต่ละรูปบอกความบริสุทธิ์ของตน ๆ เป็นการปฏิญาณตนต่อกันว่าเป็นผู้บริสุทธิ์ปราศจากอาบัติโทษ เป็นหลักของการทำ ถ้ามีรูปเดียวเท่านั้นเรียกว่า อธิษฐานอุโบสถ ทำเป็นการบุคคล ทำด้วยอธิษฐานใจตนเอง เป็นหลักของการทำ สำหรับอุโบสถกรรมทั้งสามอย่างดังกล่าว สังฆอุโบสถเป็นสำคัญยิ่ง และทำกันเป็นหลักสืบต่อกันมา มีระเบียบแบบแผนที่ถือปฏิบัติเป็นหลัก 
หลักการทำสังฆอุโบสถ มีอยู่เจ็ดประกอบด้วยกัน ดังนี้ 
๑) สังฆอุโบสถต้องทำภายในสีมาอย่างใดอย่างหนึ่ง ที่ถูกต้องตามพระวินัย 
๒) วันที่ทำนั้นเป็นวันดิถีที่ ๑๔ หรือ ๑๕ ทางจันทรคติ หรือเป็นวันสามัคคีตามพระวินัยกำหนด คือต้องเป็นวันกึ่งเดือน วันสิ้นเดือน หรือวันที่สงฆ์ตกลงปรองดองกันวันใดวันหนึ่งจึงทำได้ 
๓) ในการทำนั้นมีภิกษุประชุมร่วมกันเป็นสงฆ์ตั้งแต่สี่รูปขึ้นไป 
๔) ภิกษุที่ประชุมทำร่วมกันนั้นไม่เป็นผู้ต้องสภาคาบัติ หรือเป็นผู้ต้องสภาคาบัติ แต่ได้สวดประกาศก่อนทำแล้วโดยชอบด้วยพระวินัย 
๕) ในที่ประชุมสงฆ์นั้นไม่มีบุคคลที่ว่างเว้นอยู่ภายในหัตถบาส 
๖) พระสงฆ์ทั้งนั้นได้ทำบุพกรณ์ และบุพกิจของอุโบสถกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว 
๗) มีการสวดพระปาฏิโมกข์ให้ได้ฟังทั่วกันในท่ามกลางสงฆ์เป็นกรณียะสุดท้าย 
ระเบียบพิธี เพราะหลักการทำอุโบสถตามพระวินัยมีดังกล่าว การทำสังฆอุโบสถจึงเกิดมีระเบียบพิธีนิยมกันเป็นหลักทั่ว ๆ ไป ดังนี้ 
๑) กำหนดเวลาทำแล้วแต่วันนั้น ๆ จะกำหนดให้ตายตัว ตามความเหมาะสมแก่ท้องถิ่นว่าจะทำในเวลาใด เมื่อกำหนดเวลาทำอุโบสถกรรมในวันอุโบสถไว้ตายตัวแล้ว พระภิกษุสงฆ์ทุกรูปจะได้มาประชุมทำอุโบสถกรรมร่วมกันได้ตามเวลา 
๒) ในวันอุโบสถก่อนถึงเวลากำหนดทำอุโบสถกรรม เจ้าอาวาสจะต้องจัดการให้ปัดกวาดโรงอุโบสถให้สะอาดเรียบร้อย ตั้งหรือปูลาดอาสนะหรือตั้งเตียงสวดพระปาฏิโมกข์ไว้กลางให้พร้อม ตั้งน้ำใช้เช่นน้ำล้างเท้าไว้ในที่ที่ควร และจัดตั้งน้ำฉันไว้ภายในอาสนะสงฆ์ตามสมควรด้วย ถ้าเวลาทำอุโบสถกรรมเป็นเวลาค่ำ ต้องเตรียมประทีปสำหรับตามในโรงอุโบสถไว้ให้พร้อม เมื่อถึงกำหนดเวลาก็ให้ตีระฆังสัญญาณให้พระสงฆ์ทั้งวัดทราบ 
๓) ก่อนถึงเวลาทำอุโบสถกรรมเล็กน้อย เป็นหน้าที่ของพระภิกษุสงฆ์ทุกรูปในวัด ถ้ารูปใดรู้ว่าตนเองมีอาบัติโทษประเภทเทศนาคามินีอยู่ ก็แสดงแก่เพื่อนสหธรรมิกรูปใดรูปหนึ่งเสียให้เรียบร้อย เมื่อได้ยินสัญญาณให้ลงทำอุโบสถกรรมแล้วให้รีบลงไปพร้อมกันในโรงอุโบสถ นั่งภายในอาสนะสงฆ์ตามลำดับอาวุโส หันหน้าไปทางพระพุทธรูปประธานก่อน 
๔) เมื่อพร้อมแล้วผู้เป็นประธานสงฆ์ให้พระภิกษุเจ้าหน้าที่จัดการนับจำนวนพระสงฆ์ที่ประชุมในวันนั้น สมัยก่อนนับด้วยติ้ว คือมีราวร้อยไม้ติ้ว ซึ่งทำด้วยซี่ไม้ไผ่จำนวนมากกว่าสงฆ์ที่ประจำในวัดนั้น โดยปกติรูดติ้วไปรวมไว้ซีกของราว ตั้งราวติ้วไว้ท้ายอาสนะสงฆ์ เมื่อพระภิกษุลงมาประชุม ก่อนเข้านั่งยังอาสนะต้องรูดติ้วอันหนึ่งไปทางราวติ้วอีกซีกหนึ่ง การนับจำนวนสงฆ์ที่เข้าประชุมก็จะนับจากไม้ติ้วนี้ แต่ในปัจจุบันใช้บัญชีเรียกชื่อ ซึ่งสะดวกและแน่นอนกว่า 
๕) เริ่มทำวัตรเย็นจบแล้ว พระสงฆ์ทั้งนั้นล้อมวงนั่งพับเพียบหันหน้าเข้าหาเตียงปาติโมกข์ ซึ่งตั้งอยู่กลางชุมนุม นั่งให้เข่าชิดเข่าของรูปอื่นไปเป็นลำดับ และได้หัตถบาสตั้งแต่เตียงปาติโมกข์ออกไปจนสุดแนวสงฆ์ ควรปิดประตูทางเข้าโรงอุโบสถด้วย เพื่อป้องกันมิให้เกิดอันตรายแก่สังฆกรรมในขณะทำอุโบสถ 
๖) เมื่อพร้อมดังนี้แล้ว ก็เริ่มดำเนินการสวดพระปาติโมกข์ตามแบบของวัดนั้น ๆ ไปจนจบ ให้ชอบด้วยพระวินัยทุกประการ 
๗) จบพระปาติโมกข์แล้ว พระสงฆ์ทั้งนั้นกระจายออกนั่งเป็นแถว หันหน้าเข้าหาพระพุทธรูปประธาน พระเถระนำสวดมนต์ต่อท้ายพระปาติโมกข์พอสมควร สวดสีลุทฺเท เป็นหลัก นอกนั้นสุดแต่จะเลือกสวด จบลงด้วยบทกรวดน้ำแผ่ส่วนกุศล หรือ อิมินา ปญฺญกมฺเมน...เป็นอันเสร็จพิธี 
ระเบียบทำปาริสุทธิอุโบสถ ท่านห้ามสวดพระปาติโมกข์ ให้บอกความบริสุทธิ์แก่กัน แทนการสวดพระปาติโมกข์ ดังนี้ 
เมื่อถึงวันอุโบสถ ให้ภิกษุที่มีอยู่สามรูป ประชุมกันในโรงอุโบสถ ช่วยกันทำบุพกรณ์แห่งอุโบสถกรรม และกิจที่สมควรแก่คณะพึงทำให้เสร็จก่อน ให้รูปหนึ่งตั้งญัติประกาศทำปาริสุทธิอุโบสถ เป็นการคณะ แล้วภิกษุเถระพึงคุกเข่าประนมมือ บอกความบริสุทธิ์ของตนตามแบบสามหน ภิกษุนอกนี้พึงทำอย่างเดียวกัน เรียงตัวตามลำดับพรรษา เป็นอันเสร็จ 
ระเบียบทำอธิษฐานอุโบสถ ให้ทำกิจที่ควรทำในการทำอุโบสถกรรมนั้นก่อน แล้วรอภิกษุจากที่อื่นจะมีมาร่วมด้วยบ้างจนหมดเวลา เห็นว่าไม่มีใครมาแล้ว ให้อธิษฐานใจของตนเองว่า อชฺช เม อุโปสโถ แปลว่า วันนี้อุโบสถของเรา เพียงเท่านี้เป็นอันเสร็จพิธี 
ภิกษุจะเลือกทำอุโบสถกรรมที่ง่ายกว่าที่ยากไม่ควร มีห้ามไว้ว่า อย่าได้ปลีกตัวไปไหน แม้ในอาวาสที่ไม่มีภิกษุพอสวดพระปาติโมกข์ได้ ก็ให้พระเถระจัดส่งภิกษุรูปใดรูปหนึ่งไปเรียนมาจากสำนักอื่น ถ้าจัดการไม่สำเร็จตามนี้ ท่านห้ามไม่ให้จำพรรษาอยู่ในที่นั้น แต่ข้อนี้ถ้าอาจจะไปรวมทำสังฆอุโบสถในอาวาสอื่นได้ ตามกำหนดก็ไม่ห้ามเด็ดขาด จะจำพรรษาอยู่ในอาวาสนั้นก็ควร 
พิธีออกพรรษา 
ออกพรรษา หมายถึงกาลสิ้นสุดกำหนดอยู่จำพรรษาของภิกษุตามพระวินัยบัญญัติ มีพิธีเป็นสังฆกรรมพิเศษโดยเฉพาะ เรียกว่า ปวารณากรรม คือการทำปวารณาของพระภิกษุที่อยู่ร่วมกันมาตลอดสามเดือน คือ ยินยอมให้ว่ากล่าวตักเตือนกันได้ทุกกรณี ไม่ต้องเกรงกันว่าเป็นผู้ใหญ่ผู้น้อย การทำปวารณากรรมนี้ ทำในวันสุดท้ายที่ครบสามเดือนนับแต่วันเข้าพรรษา จึงตกในวันเพ็ญเดือนสิบเอ็ดของทุกปี ในวันนี้พระภิกษุสงฆ์ไม่ต้องทำอุโบสถกรรม คือสวดปาติโมกข์อย่างวันเพ็ญ หรือวันสิ้นเดือนอื่น ๆ แต่มีพระวินัยบัญญัติให้ทำปวารณากรรมแทนการสวดพระปาติโมกข์ ในปีหนึ่ง ๆ วัดหนึ่งจะมีปวารณากรรมได้เพียงครั้งเดียว เป็นหน้าที่บังคับให้พระภิกษุทุกรูปต้องทำ เพราะภิกษุที่ทำปวารณากรรมแล้ว พ้นข้อผูกพันที่ต้องอยู่ประจำ 
ปวารณากรรมหรือการออกพรรษา มีพิธีที่ต้องปฏิบัติเป็นธรรมเนียม ถือเป็นระเบียบได้ดังนี้ 
๑) ในวันเพ็ญเดือนสิบเอ็ด ต้องทำบุพกรณ์ และบุพกิจ เหมือนการทำอุโบสถสังฆกรรม เว้นแต่ในส่วนบุพกิจไม่นำปาริสุทธิ เปลี่ยนเป็นนำปวารณาของภิกษุไข้มา เมื่อถึงกำหนดเวลาที่พระสงฆ์เคยลงทำอุโบสถกรรม สวดพระปาติโมกข์ตามปกติ จะมีการตีระฆังสัญญาณให้พระภิกษุสามเณรทั้งวัดลงประชุมพร้อมกันในโรงอุโบสถ ภิกษุครองผ้าสังฆาฏิ สามเณรครองผ้าตามแบบแผนของวัดนั้น ๆ พระภิกษุนั่งบนอาสนะสงฆ์ตามลำดับพรรษา แก่อ่อนจากขวามาซ้ายเรียงเป็นแถว ๆ ไป หันหน้าเข้าหาพระพุทธรูปประธาน สุดแถวพระสงฆ์แล้ว เว้นระยะพอสมควรไม่ต่ำกว่าสองศอก ให้สามเณรนั่งตั้งแถวของตนใหม่ต่างจากแถวพระภิกษุ จัดนั่งเช่นพิธีเข้าพรรษา 
๒) เริ่มต้นทำวัตรเย็น เมื่อทำวัตรจบแล้วให้สามเณรกลับออกไป เพราะพิธีต่อไปเป็นพิธีของพระภิกษุสงฆ์โดยเฉพาะ 
๓) เจ้าอาวาสหรือพระสังฆเถระผู้ฉลาดในสังฆกรรมขึ้นนั่งเตียงปาติโมกข์ ประกาศชี้แจงเรื่องการทำปวารณากรรมให้เข้าใจทั่วกันก่อน แล้วเริ่มบอกบุพกรณ์บุพกิจของปวารณากรรม เสร็จแล้วตั้งญัตติปวารณากรรม ต่อจากนั้นพระสงฆ์พึงปวารณากรรมกันตามแบบโดยลำดับอาวุโส ถ้ามีพระภิกษุเป็นจำนวนมาก จะปวารณาเรียงตัวรูปละสามจบ ตามแบบไม่สะดวก เพราะต้องใช้เวลามาก จะประกาศให้สงฆ์ปวารณาเพียงว่าจบเดียว และให้ผู้มีพรรษาเท่ากันปวารณาพร้อมกันก็ได้ ทั้งนี้ต้องบอกแจ้งในญัติว่า จะใช้เอกวาจิกาสมานวัสสิกาปวารณาก่อน 
๔) ระเบียบการปวารณาที่นิยมกัน ให้พระสงฆ์ทั้งนั้นนั่งพับเพียบเรียงแถวไม่ละหัตบาส ตามลำดับอาวุโส ทุกรูปหันหน้าเข้าหาพระพุทธรูปประธาน ผู้แก่อาวุโสปวารณาก่อน เมื่อถึงลำดับตนแล้วพึงคุกเข่าว่าคำปวารณา จบแล้วนั่งพับเพียบตามเดิม โดยนัยนี้จนได้ปวารณาครบทุกรูป 
๕) เมื่อปวารณาเสร็จ มีสวดมนต์ต่อท้าย นอกจาก นโม พุท์ธํ แล้วสวด สีลุท เทสปาฐ เจ็ดตำนานย่อ สาราณียธรรมสูตร อปริหานิยธรรมสูตร อรหํ ยํยํ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ...ยา เทวตา..หรือ อิมินา... เมื่อสวดจบเป็นอันเสร็จพิธี 
๖) ภิกษุทุกรูปเมื่อปวารณาแล้ว ในวันปวารณานั้นจะต้องพักรักษาราตรีอยู่ประจำที่อีกหนึ่งคืน เมื่อพ้นคืนวันปวารณาไปแล้ว จึงจะจาริกไปแรมคืนที่อื่นได้ 
พิธีทำบุญตักบาตรเทโวโรหณะ 

วันเทโวโรหณะ คือวันที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงมาจากเทวโลก หลังจากเสด็จขึ้นไปจำพรรษาอยู่ในดาวดึงส์ พิภพถ้วนไตรมาส และตรัสพระธรรมเทศนาโปรดพระพุทธมารดาในเทวโลก มาตลอดสามเดือน พอออกพรรษาแล้ว ก็ได้เสด็จกลับมายังมนุษย์โลก โดยเสด็จลงทางบันไดสวรรค์ที่ประตูเมืองสังกัสสนคร ซึ่งตั้งอยู่เหนือเมืองสาวัตถี วันเสด็จลงจากเทวโลกนั้นเรียกว่า วันเทโวโรหณะ ตรงกับวันมหาปวารณาเพ็ญเดือนสิบเอ็ด ถือกันว่าเป็นวันบุญวันกุศลที่สำคัญวันหนึ่ง โบราณเรียกว่า วันพระเจ้าเปิดโลก รุ่งขึ้นจากวันนั้นเป็นวันแรมหนึ่งค่ำเดือนสิบเอ็ด จึงมีการทำบุญตักบาตรเทโวโรหณะ เพื่อเฉลิมฉลองการเสด็จลงมาจากเทวโลกของพระพุทธเจ้า 
พิธีตักบาตรเทโว ฯ ที่นิยมกันทั่วไปในปัจจุบันจัดทำขึ้นในวัด มีระเบียบพิธี ดังนี้ 
ก่อนถึงวันแรม หนึ่งค่ำ เดือนสิบเอ็ด ซึ่งกำหนดเป็นวันทำบุญตักบาตร ทางวัดที่จะจัดให้มีงานทำบุญตักบาตร จะต้องเตรียมคือ 
๑) รถทรงพระพุทธรูป หรือ คานหามพระพุทธรูป เพื่อชักหรือหามนำหน้าพระสงฆ์ในการรับบาตร มีที่ตั้งพระพุทธรูปตรงกลาง ประดับรถหรือคานหามด้วยราชวัติ ฉัตร ธง โดยรอบพอสมควร มีที่ตั้งบาตร สำหรับรับบิณฑบาตตรงหน้าพระพุทธรูป ส่วนตัวรถหรือคานหามจะประดับอย่างไรก็ตามแต่ศรัทธา ถ้าไม่สามารถจัดรถหรือคานหาม จะใช้อุบาสกเป็นผู้เชิญพระพุทธรูปก็ได้ และมีผู้ถือบาตรตามสำหรับรับบิณฑบาต 
๒) พระพุทธรูปยืนหนึ่งองค์ สำหรับเชิญขึ้นประดิษฐานบนรถทรงหรือคานหาม แล้วชักหรือหามนำขบวนรับบาตรเทโว ฯ แทนองค์พระพุทธเจ้า จะใช้พระปางห้ามญาติ ปางห้ามสมุทร ปางรำพึง ปางถวายเนตร หรือปางลีลา ปางใดปางหนึ่งก็ได้ 
๓) เตรียมสถานที่ให้ทายกทายิกาตั้งเครื่องใส่บาตร โดยจะจัดลานวัดหรือบริเวณรอบ ๆ โรงอุโบสถเป็นที่กลางแจ้งแห่งใดแห่งหนึ่งก็ได้ จัดให้ตั้งเป็นแถวเป็นแนวเรียงรายติดต่อกันเป็นลำดับ 
๔) แจ้งกำหนดการต่าง ๆ ให้ทายกทายิกาทราบล่วงหน้าก่อนว่า จะกำหนดให้ทำบุญตักบาตรพร้อมกันเวลาใด 
สำหรับทายกทายิกา จะต้องเตรียมและดำเนินการดังนี้ 
๑) เตรียมภัตตาหารสำหรับใส่บาตร มีสิ่งหนึ่งซึ่งถือเป็นประเพณีจะขาดเสียมิได้ คือ ข้าวต้มลูกโยน เพราะถือกันว่าเป็นสัญลักษณ์ของงานนี้คือ ข้าวต้มลูกโยน 
๒) เมื่อถึงกำหนดก็นำเครื่องใส่บาตรทั้งหมดไปตั้งที่วัดตามที่ทางวัดเตรียมให้ รอจนขบวนพระมาถึงหน้าคนจึงใส่บาตร ให้ใส่ตั้งแต่พระพุทธรูปที่นำหน้าพระสงฆ์ไปเป็นลำดับ 
สำหรับภิกษุสามเณรผู้เข้ารับบิณฑบาตร ให้ชักแถวเดินมีรถทรงหรือคานหามพระพุทธรูปนำหน้าแถว 
ทานพิธี 
การถวายทาน 

หลักสำคัญของการถวายทานเป็นการสงฆ์ จะต้องตั้งใจถวายแก่สงฆ์จริง ๆ อย่างเลือกว่าเป็นผู้ใด มิฉะนั้นจะเกิดความยินดียินร้ายไปตามบุคคลผู้รับ ซึ่งจะเสียพิธีสังฆทานไป 
การเตรียมทานวัตถุ ที่ต้องการถวายให้เสร็จเรียบร้อยตามศรัทธา และทันเวลาถวาย ถ้าเป็นภัตตาหาร จีวร และคิลานเภสัช ซึ่งเป็นของยกประเคนได้ จะเป็นของถวายเนื่องด้วยกาลหรือไม่ก็ตาม ต้องจัดให้ถูกต้องตามนิยมของทานชนิดนั้น ๆ แต่ถ้าเป็นเสนาสนะหรือเครื่องเสนาสนะ ซึ่งต้องก่อสร้างกับที่ และเป็นของใหญ่ใช้ติดที่ต้องเตรียมการตามสมควร 
การเผดียงสงฆ์ คือแจ้งความจำนงที่จะถวายทานนั้น ๆ ให้สงฆ์ทราบ ถ้าเป็นภัตตาหาร จีวร คิลานเภสัช ซึ่งมีจำนวนจำกัดไม่ทั่วไปแก่สงฆ์ทุกรูปในวัด ก็ขอให้เจ้าอธิการสงฆ์ จัดพระสงฆ์ผู้รับให้ตามจำนวนที่ต้องการ และนัดแนะสถานที่กับกำหนดเวลาให้เรียบร้อย ถ้าเป็นเสนาสนะหรือเครื่องเสนาสนะ ซึ่งปกติจะต้องก่อสร้างภายในวัดอยู่แล้ว ก็ขอผู้แทนสงฆ์ตามจำนวนที่ต้องการ และกำหนดวันเวลารับ สำหรับสถานที่รับ ควรเป็นบริเวณที่ตั้งเสนาสนะ หรือเครื่องเสนาสนะนั้นๆ 
ในการถวายทานถ้ามีพิธีอื่น ๆ ประกอบด้วยก็เป็นเรื่องของพิธีแต่ลำอย่างๆ ไป พิธีถวายทาน ฝ่ายทายกพึงดำเนินพิธี ดังนี้ 
๑) จุดธูปเทียน หน้าที่บูชาพระ 
๒) อาราธนาศีล และรับศีล 
๓) ประนมมือกล่าวคำถวายทานนั้น ๆ ตามแบบในการกล่าวคำถวายทุกครั้งต้องตั้งนโม ก่อนสามจบ ถ้าถวายรวมกันมากคน ควรว่านมโมพร้อมกันก่อน แล้วหัวหน้ากล่าวคำถวายให้ผู้อื่นว่าตามเป็นตอน ๆ ทั้งคำบาลี และคำแปลจนจบ ต่อจากนั้นถ้าเป็นของควรประเคนก็ประเคน แต่จะประเคนสิ่งของประเภทอาหารหลังเที่ยงไม่ได้ เสนาสนะหรือวัตถุที่มีขนาดใหญ่ ไม่สามารถยกประเคนได้ ใช้หลั่งน้ำลงบนหัตถ์ของพระสงฆ์ผู้เป็นประธานในพิธี ก็ถือว่าได้ประเคนแล้ว 
พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนา เมื่อรับสังฆทานในขณะที่ทายกกล่าวคำถวายทาน จะประนมมือเป็นอาการแสดงถึงการับทานโดยเคารพ เมื่อทายกกล่าวคำถวายทานจบแล้ว เปล่งวาจาสาธุพร้อมกัน บางพวกเมื่อทายกกล่าวคำถวายทานจบแล้ว จึงประนมมือเปล่งวาจาสาธุพร้อมกัน เมื่อเสร็จการประเคนแล้ว พึงอนุโมทนาด้วยบท 
๑) ยถา... 
๒) สพฺพีติโย... 
๓) บทอนุโมทนาโดยควรแก่ทาน 
๔) ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ... 
ขณะพระสงฆ์อนุโมทนา ทายกพึงกรวดน้ำ เมื่อพระสงฆ์เริ่มบทยถา... พอถึงบท สพฺพีติโย... เป็นต้นไป พึงประนมมือรับพรไปจนจบ แล้วกราบสามหน เป็นอันเสร็จพิธีถวายทาน 
การถวายสังฆทาน 
สังฆทาน คือทานที่อุทิศให้แก่สงฆ์ มิได้เจาะจงแก่บุคคล โดยนิยมที่เข้าใจกันทั่วไปก็คือ การจัดภัตตาหารถวายพระสงฆ์ไม่เกี่ยวกับการถวายทานวัตถุอย่างอื่น การจัดภัตตาหารถวายพระสงฆ์อย่างนี้เรียกว่าสังฆทาน มีแบบแผนมาแต่ครั้งพุทธกาล แต่ในครั้งนั้นท่านแบ่งสังฆทานไว้ถึงเจ็ดประการด้วยกันคือ 
๑) ถวายแกหมู่ภิกษุ และภิกษุณี มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข 
๒) ถวายแก่หมู่ภิกษุ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข 
๓) ถวายแก่หมู่ภิกษุณี มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข 
๔) ถวายแก่หมู่ภิกษุ และภิกษุณี 
๕) ถวายแก่หมู่ภิกษุ 
๖) ถวายแก่หมู่ภิกษุณี 
๗) ข้อร้องต่อสงฆ์ให้ส่งใคร ๆ ไปรับแล้วถวายต่อผู้นั้น 
ในการถวายสงฆ์ดังกล่าว นิยมตั้งพระพุทธรูปเป็นประธาน ซึ่งอนุโลมเข้าในประเภทถวายแก่พระสงฆ์ มีพระพุทธเจ้าเป็นประมุข และทานวัตถุที่ถวายเป็นสังฆทาน มีภัตตาหารเป็นที่ตั้ง นอกนั้นจะมีของบริวารอื่น ๆ ตามสมควรก็ได้ ข้อสำคัญของการถวายสังฆทานมีอยู่ว่า ต้องตั้งใจถวายเป็นสงฆ์จริง ๆ ผู้รับจะเป็นบุคคลชนิดใดก็ตาม ผู้ถวายต้องตั้งใจต่อพระอริยสงฆ์ มีระเบียบพิธีนิยมดังนี้ 
๑) พึงเตรียมภัตตาหารใส่ภาชนะให้เรียบร้อย จะถวายกี่รูปก็ได้และแต่ศรัทธา การเผดียงสงฆ์นิยมทำกันสองวิธีคือ เผดียงจากรูปที่ออกบิณฑบาตในตอนเช้า ผู้มาถึงเฉพาะหน้าในขณะนั้นให้ครบตามจำนวนที่ต้องการวิธีหนึ่ง อีกวิธีหนึ่งเผดียงต่อภัตตุเทศน์ในวัดหรือเจ้าอาวาส ให้จัดพระสงฆ์ตามจำนวนที่ต้องการไปรับ 
๒) สถานที่ถวายถ้าเป็นในบ้าน ควรจัดสถานที่ให้เรียบร้อย ถ้ามีพระพุทธรูปควรตั้งที่บูชาด้วยพอสมควร เมื่อพระสงฆ์มาพร้อมกันแล้ว ให้นำภัตตาหารที่จัดเตรียมไว้มาตั้งตรงหน้าพระสงฆ์ พร้อมแล้วอาราธนาศีล แล้วรับสมาทาน จบแล้วกล่าวคำถวาย ควรว่าทั้งคำบาลี และคำแปลด้วย 
คำถวายสังฆทาน (ประเภทสามัญ) 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ภิกฺขุสงฺฆสฺส, โอโณ ชยาม, สาธุ โน ภนฺเต, ภิกขุสงฺโฆ, 
อิมานิ ภตฺตานิ, สปริวารานิ, ปฏิคฺคณฺหาตุ อมฺหากํ, ฑีฆรตฺตํ , หิตาย สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายภัตตาหาร กับบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับภัตตาหาร กับบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายสิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
คำถวายสังฆทาน (ประเภทอุทิศให้ผู้ตาย) 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , มตกภตฺตานิ , สปริวารานิ , ภิกฺขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , สาธุ โน ภนฺเต , ภิกขุสงฺโฆ , 
อิมานิ, มตกภตฺตานิ , สปริวารานิ. ปฏิคคณฺหาตุ , อมฺหากณฺเจว. มาตาปิตุ อาทีนญฺจ ญาตกานํ, กาลกตานํ , 
ฑีฆรตฺตํ , หิตาย, สุขาย 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายมตกภัตตาหาร กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับภัตตาหาร กับบริวารเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายด้วย แก่ญาติของข้าพเจ้าทั้งหลายมีมารดาบิดาเป็นต้น ผู้ทำกาละล่วงลับไปแล้วด้วย สินกาลทาน เทอญ ฯ 
ในขณะกล่าวคำถวาย พระสงฆ์พึงประนมมือ พอกล่าวคำถวายจบพึงรับ "สาธุ" พร้อมกัน จากนั้นประเคนภัตตาหาร และของบริวารแก่พระสงฆ์ บทวิเสสอนุโมทนาที่นิยมในทานนี้ ใช้บทมงคลจักรวาลน้อยเป็นพื้น 
ขณะพระสงฆ์ว่า ยถา... พึงกรวดน้ำ แล้วประนมมือรับพรต่อไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายสลากภัตต์ 
สลากภัตต์ คือภัตตาหารที่ทายกทายิกาถวายตามสลาก นับเข้าในสังฆทาน พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงอนุญาตไว้ในอนุศาสน์แผนกนิสสัยสี่ ว่าเป็นอดิเรกลาภส่วนหนึ่ง เมื่อครั้งพุทธกาล ถวายกันโดยไม่นิยมกาล สุดแต่ศรัทธาเมื่อใดก็ถวายเมื่อนั้น ในประเทศไทยปัจจุบันนิยมทำกันในเดือนที่มีผลไม้ต่าง ๆ บริบูรณ์มาก จัดถวายภัตตาหารพร้อมด้วยผลไม้นั้น ๆ ด้วยสลาก เช่นจัดถวายหน้ามะม่วงก็เรียกว่า สลากภัตต์มะม่วง ระยะถวายสลากภัตต์ ส่วนมากอยู่ระหว่างเดือนหกถึงเดือนเจ็ด ก่อนเข้าพรรษา สงเคราะห์เข้าในการถวายผลอันเป็นเลิศที่เกิดแต่พืชในสวนในไร่ของตน ซึ่งนิยมกันมาแต่ครั้งโบราณ แต่สลากภัตต์ส่วนมากเป็นสังฆทานหมู่ ซึ่งทายกทายิการ่วมกันทั้งหมู่บ้านถวาย จึงเป็นทานสามัคคีของชาวบ้าน 
วิธีทำสลากภัตต์ ที่ทำกันเป็นประเพณีโดยมาก มีหัวหน้าทายกทายิกาป่าวร้องกัน แล้วกำหนดวันเวลาสถานที่ตามแต่สะดวก ส่วนมากจะถวายตามวัดในหมู่บ้านนั้น ๆ หรือตามศาลาโรงธรรมในละแวกบ้านนั้น เมื่อถึงวันกำหนด ผู้รับสลากภัตต์ก็จัดภัตตาหารกับไทยธรรม ซึ่งมักประกอบด้วยผลไม้ในฤดูนั้น ๆ นำไปยังสถานที่กำหนด บางรายทำอย่างครึกครื้นแห่แหนกันไป ครั้นประชุมพร้อมกันในสถานที่กำหนดแล้ว หัวหน้าทายกทายิกา ก็ให้ผู้รับสลากภัตต์ทุกคนจับฉลาก เมื่อจับได้ชื่อรูปใดก็ถวายรูปนั้น บางทีเขียนเป็นตัวเลข ให้เท่ากับจำนวนสงฆ์ที่จะรับ แล้วทำเป็นธงให้ทายกทายิกาจับ จับได้แล้วก็เสียบไว้ที่ทานวัตถุของตน แล้วทำเป็นธงให้ทายกทายิกาจับ จับได้แล้วก็เสียบไว้ที่ทานวัตถุของตน แล้วทำสลากอีกส่วนหนึ่งลงเลขจำนวนตรงกันกับที่ให้ทายกทายิกาจับไปแล้วม้วนเป็นชิ้นเล็ก ๆ ให้ภิกษุสามเณรจับ ถ้ารูปใดจับได้ตรงกับเลขของใคร ก็ให้ผู้นั้นถวายแก่รูปนั้นโดยนำไปตั้งไว้ตรงหน้าผู้รับ 
เมื่อเสร็จพิธีจับสลากของทายกทายิกาแล้ว จึงกล่าวถวายสลากภัตต์พร้อมกัน เมื่อจบคำถวายเป็นภาษาบาลีแล้วควรว่าคำแปลด้วย 
คำถวายสลากภัตต์ 
เอตานิ มยํ ภนฺเต , สลากภตฺตานิ , สปริวารานิ , อสุกฏฺฐาเน , ฐปิตานิ , ภิกขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , สาธุโน ภนฺเต , ภิกขุสงฺโฆ 
เอตานิ , สลากภตฺตานิ , สปริวารานิ ปฏิคคณฺหาตุ , อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ภัตตาหารกับบริวารทั้งหลาย ซึ่งตั้งไว้ ณ ที่โน้นที่นั้น ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายแก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ซึ่งภัตตาหารกับทั้งบริวารเหล่านนั้น ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
ในขณะกล่าวคำถวาย ภิกษุสามเณรทั้งหมดพึงประนมมือ พอกล่าวคำถวายจบรับสาธุพร้อมกัน ถ้ากำหนดให้ฉันในที่ถวาย ก็ให้เจ้าของสลากประเคนภัตตาหาร ภิกษุสามเณรฉันเสร็จแล้วจึงประเคนไทยธรรม แล้วพระสงฆ์อนุโมทนา วิเสสอนุโมทนาใช้บทมงคลจักรวาลน้อย เช่นกัน 
ระหว่างพระสงฆ์อนุโมทนา ทายกทายิกาทุกคน พึงกรวดน้ำตอนพระว่า ยถา... กรวดน้ำเสร็จแล้วประนมมือรับพรต่อไปจนจบ 
การถวายสลากภัตต์ มักนิยมถวายเวลาภัตตาหารเช้าก็มี ภัตตาหารเพลก็มี บางแห่งพระฉันท์แล้วมีเทศน์อนุโมทนาอีก หนึ่งกัณฑ์ จบแล้วจึงกรวดน้ำ รับพร เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนาแล้วเป็นอันเสร็จพิธี 
การตักบาตข้าวสาร 
การถวายข้าวสารเป็นประเพณีที่เกิดขึ้นในเมืองไทยในยุคหลัง การถวายข้าวสารไม่นิยมกาลถวายในพิธีต่าง ๆ เช่น ติดกัณฑ์เทศน์ก็มี อุทิศถวายเข้าในสงฆ์ หรือเฉพาะบุคคลก็มี ที่ทำกันจนเป็นประเพณี เช่นทำบุญตักบาตรข้าวสารในพรรษาก็มี การตักบาตรข้าวสารในเทศกาลเข้าพรรษานับเนื่องในสังฆทาน มีระเบียบปฏิบัติกันส่วนใหญ่ดังนี้ 
ในระหว่างเข้าพรรษา เมื่อมีการกำหนดวันใดวันหนึ่งเพื่อการนี้แล้ว เมื่อถึงวันกำหนดทายกทายิกา ก็จะนำข้าวสารพร้อมด้วยเครื่องบริวาร มีพริก กะปิ กระเทียม ปลาแห้ง ปลาเค็ม เป็นต้น ไปกองรวมกันในที่ที่กำหนดในวัด เมื่อพร้อมแล้วจะตีระฆังสัญญาณ พระภิกษุสามเณรทั้งวัดลงมาประชุม ทายกทายิกาอาราธนาศีล และรับศีลร่วมกัน เสร็จแล้วอาราธนาธรรม ภิกษุสามเณรรูปหนึ่งแสดงธรรมอนุโมทนาทาน จบแล้วทายกทายิกากล่าวคำถวายข้าวสาร และบริวารทั้งคำบาลีและคำแปล เมื่อกล่าวคำถวายจบ ภิกษุสามเณรทั้งนั้นรับ "สาธุ" พร้อมกัน แล้วอนุโมทนา บทวิเสสอนุโมทนาที่ใช้คือ ถ้าถวายเนื่องในสารทกาลระยะตักบาตรน้ำผึ้งในบท กาเล ททนฺติ... ต่อ ยสฺส 
ทาเทนฺ... แต่ถ้าถวายไม่เนื่องด้วยกาลนั้น พึงใช้บท สพฺพพุทฺธานุภาเวน... 
คำถวายข้าวสาร 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , ตณฺฑลานิ , สปริวารานิ , ภิกฺขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม 
สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุสงฺโฆ , มิมานิ ตณฺฑลานิ , สปริวารานิ , ปฏิคฺคณฺหาตุ , 
อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ หิตาย สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายข้าวสาร กับทั้งบริวารเหล่านี้แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับข้าวสาร กับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
จากนั้นทายกทายิกากรวดน้ำ แล้วประนมมือรับพรจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การตักบาตรน้ำผึ้ง 
การถวายน้ำผึ้งแก่สงฆ์ นับเข้าในเภสัชทาน เป็นกาลทานส่วนหนึ่งซึ่งทำในสารทกาล ห้วงเวลาตั้งแต่ระหว่างข้างแรมเดือนสิบ โดยพุทธานุญาต มีปฐมเหตุมาแต่ครั้งพุทธกาล คือครั้งหนึ่งในระหว่างเดือนสิบ ภิกษุทั้งหลายมีการชุ่มด้วยน้ำฝน เกิดอาพาธฉันจังหันอาเจียน มีกายซูบผอมเศร้าหมอง เมื่อพุทธองค์ทรงทราบ จึงทรงอนุญาตเภสัชห้าอย่างคือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย ให้ภิกษุรับและฉันได้ในเวลาวิกาล เพื่อระงับโรค และบำรุงกำลัง จึงเป็นประเพณีที่ทายกทายิกานิยมถวายเภสัชทานขึ้นในเทศกาลนี้ มาจนถึงทุกวันนี้ และได้ถวายแต่น้ำผึ้งเป็นพื้น เรียกกันว่าตักบาตรน้ำผึ้ง มีระเบียบพิธีดังนี้ 
เมื่อถึงข้างแรมเดือนสิบ มีการป่าวร้อง หรือแจกฎีกาให้ชาวบ้านนำน้ำผึ้งบริสุทธิ์ พร้อมทั้งน้ำมัน น้ำอ้อย น้ำตาล ไปทำบุญตักบาตรร่วมกันในวัด ส่วนมากจะกำหนดทำในวันพระแรมสิบค่ำ เมื่อถึงวันกำหนด จะมีการตั้งบาตรหรือภาชนะ ที่สมควรไว้ในศาลาการเปรียญ หรือในโรงอุโบสถ เพื่อให้ชาวบ้านนำน้ำผึ้งมาใส่รวมกัน สำหรับน้ำมัน น้ำอ้อย และน้ำตาล ก็ให้ใส่ภาชนะต่างหากไม่ปะปนกัน เมื่อใส่เสร็จเรียบร้อยแล้ว ก็ตีระฆังสัญญาณให้ภิกษุสามเณรในวัดลงมารวมพร้อมกัน ทายกทายิกาอาราธนาศีล รับศีลพร้อมกันแล้วอาราธนาธรรม ภิกษุผู้สามารถพึงแสดงธรรม อนุโมทนาเภสัชทานนั้น จบแล้วทายกทายิกากล่าวคำถวายพร้อมกัน ว่าเฉพาะคำบาลีเท่านั้น 
คำถวายเภสัชทานมีน้ำผึ้งเป็นต้น 
สรโท นามายํ ภนฺเต , กาโลสมฺปตฺโต , ยตฺถ ตถาคโต อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ สารทิกาปาเชน อาพาธิกานํ , ภิกขูนํ , เภสชฺชานิ , อนุญฺญาสิ , สปฺปนวนีตํ ,เตลํ มธุ ํ ผาณิตํ , มยนฺทานิ , ตกฺกาลสทิสํ , สมฺปตฺตา , ตสฺส ภควโต , ปุญญตฺตานุคํ , ทานํ, สาธุโนภนฺเต , อยฺยา ยถาวิภตฺตา , มธุทานํ จ , เตลํ จ, ผาณิตํ จ ปฏิคฺคณฺหาตุ , อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ บัดนี้สารทกาล มาถึงแล้วในกาลใดเล่า พระตถาคตสัมมาสัมพุทธเจ้าทรงอนุญาตเภสัชห้าอย่างคือ เนยใส เนยข้น น้ำมัน น้ำผึ้ง น้ำอ้อย แก่ภิกษุทั้งหลายผู้อาพาธ ด้วยโรคเกิดในสารทกาล บัดนี้ข้าพเจ้าทั้งหลายมาถึงกาลเช่นนี้แล้ว ปรารถนาจะถวายทานตามพระพุทธานุญาต ของพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น จึงถวายน้ำผึ้ง น้ำมัน และน้ำอ้อย อันนับเข้าในเภสัชห้าอย่างนั้น แก่ภิกษุสงและสามเณรทั้งหลาย ขอพระเป็นเจ้าทั้งหลายจงรับมธุทาน เตลทาน และผาณิตทานของข้าพเจ้าทั้งหลาย ตามที่แจกถวายนั้น ๆ เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลายบ สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
ขณะทายกทายิกากล่าวคำถวาย ภิกษุสามเณรทั้งหมดในที่นั้นพึงประนมมือ พอกล่าวคำถวายจบ ให้รับ "สาธุ" พร้อมกัน แล้วอนุโมทนาบทวิเสสอนุโมทนาที่นิยมในทานนี้ ใช้บท กาเล ททนฺติ... ต่อท้ายด้วยบท ยสฺส ทาเนน... 
ทายกทายิกากรวดน้ำ แล้วประนมมือรับพรไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายเสนาสนะกุฎีวิหาร 
เสนาสนะกุฎีวิหาร เป็นที่อยู่อาศัยของภิกษุสงฆ์สามเณร ที่สร้างไว้ในวัด นิยมให้สร้างขึ้นเป็นของสงฆ์ ผู้ใดจะถือกรรมสิทธิ์เป็นของตนโดยเฉพาะไม่ได้ ถือเป็นเพียงอยู่อาศัยใช้สอยได้เฉพาะกาลเท่าที่สงฆ์มอบหมายเท่านั้น จึงนิยมให้ผู้สร้างทำพิธีถวายให้เป็นของสงฆ์ด้วย จะได้สงเคราะห์เป็นทานเรียกว่า เสนาสนะทานพิเศษ 
ส่วนหนึ่งซึ่งพระผู้มีพระภาคทรงสรรเสริญว่าเป็นทานอันเลิศ ได้สร้างกันเป็นประเพณีมาแต่ครั้งพุทธกาลแล้ว 
การสร้างเสนาสนะถวายนี้ นิยมสร้างกันในฤดูร้อนให้แล้วเสร็จก่อนฤดูฝน และนิยมถวายก่อนเข้าพรรษา เพื่อพระสงฆ์ได้ทันใช้สอยในการจำพรรษา มีพิธีเกี่ยวด้วยการสร้าง และการถวาย อันเนื่องด้วยพระวินัยบัญญัติ และขนบธรรมเนียม ดังนี้ 
๑) ถ้าภิกษุสร้างเสนาสนะอยู่เองในวัด เป็นถาวรวัตถุที่ต้องก่อหรือโบกด้วยปูนหรือดินเหนียว ต้องสร้างได้โดยประมาณจำกัด คือ วันเฉพาะร่วมใน ยาวเพียง ๑๒ คืบ พระสุคต กว้างเพียง ๘ คืบ พระสุคต คือ ประมาณ ยาว ๘ ศอก ๓ นิ้วเศษ กว้าง ๕ ศอก ๑๐ นิ้วเศษ ในการสร้างต้องให้สงฆ์แสดงที่ก่อนจึงจะสร้างได้ มิฉะนั้นจะผิดพระวินัย 
๒) ถ้ามีทายก เป็นเจ้าของเสนาสนะขึ้นในวัดนั้น ขนาดของเสนาสนะไม่จำกัด แต่ก่อนจะสร้างต้องได้รับอนุมัติจากทางวัด และให้สงฆ์แสดงที่ให้ก่อน 
๓) เมื่อสร้างเสร็จแล้ว นิยมให้เจ้าของผู้สร้างถวายเสนาสนะนั้นเป็นของสงฆ์ ในวันถวายให้ภิกษุสามเณรในวัดทั้งหมดมาประชุมกันที่เสนาสนะที่สร้างใหม่นั้น เมื่อพร้อมแล้วให้เจ้าของผู้สร้างกล่าวคำถวาย ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , เสนาสนานิ , อาคตา นาคตสฺส , จาตุทฺทิสสฺส , ภิกขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , 
สาธุ โน ภนฺเต , ภิกขุสงฺโฆ , อิมานิ เสนาสนามิ , ปฏิคฺคณฺหาตุ , อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย, สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายเสนาสนะเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ผู้มีในทิศทั้งสี่ ที่มาแล้วก็ดี ที่ยังไม่มาก็ดี ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ เสนาสนะเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุขของข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
ขณะกล่าวคำถวาย พระสงฆ์ทั้งนั้นพึงประนมมือ พอกล่าวคำถวายจบพึงรับ "สาธุ" พร้อมกัน ต่อจากนั้นให้ผู้ถวายหลั่งน้ำลงในหัตถ์ของพระภิกษุผู้เป็นประธานในพิธี พระสงฆ์พึงอนุโมทนา บทวิเสสโมทนาในทานนี้นิยมใช้บท สีตํ อุณหํ... ต่อด้วย สพฺพพุทฺธานุภาเวนะ... 
ทายกทายิกา พึงกรวดน้ำ แล้วประนมมือรับพรจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายศาลาโรงธรรม 
ศาลาโรงธรรม คือศาลาที่แสดงธรรมหรือสวดพระธรรม ใช้เป็นที่เรียนพระธรรมวินัยก็ได้ จึงนิยมเรียกว่า ศาลาการเปรียญ เป็นต้น สงเคราะห์โรงเรียนพระปริยัติธรรม เข้าในศาลาโรงธรรมด้วย ส่วนมากศาลาโรงธรรมมักสร้างไว้ตามวัด และที่สร้างไว้ในละแวกบ้านที่เรียกว่า ศาลากลางบ้านก็มี 
การถวายศาลาโรงธรรมเป็นของสงฆ์ มีพิธีกรรมเช่นเดียวกับการถวายเสนาสนะ ต่างแต่คำถวายดังนี้ 
มยํ ภนฺเต , อิมํ สาลํ , ธมฺมสภาย , อุทฺทิสฺสํ , จาตุทฺทิสสฺส, 
ภิกขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุสงฺโฆ , อิมํ สาลํ , ปฏิกคณฺหาตุ อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายศาลาหลังนี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ผู้มีในทิศทั้งสี่ อุทิศเพื่อเป็นสถานที่แสดงธรรม ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับศาลาหลังนี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
การถวายผ้าวัสสิกสาฎก 
ผ้าวัสสิกสาฏก คือผ้าป่าสำหรับใช้นุ่งเวลาอาบน้ำฝน เรียกว่า ผ้าอาบน้ำฝน แต่เดิมพระพุทธองค์ทรงอนุญาต ให้ภิกษุทรงไว้แต่ผ้าสามผืนที่เรียกว่า ไตรจีวร คือ สังฆาฏิ ผ้าคลุมชั้นนอก อุตราสงค์ ผ้าห่ม และอันตรวาสก ผ้านุ่ง เท่านั้น นางสิสาขา ได้ทูลขอพรต่อพระพุทธองค์เพื่อจะถวายผ้าสำหรับผลัดอาบน้ำฝนแก่ภิกษุทั้งหลาย พระพุทธองค์ก็ทรงอนุญาต 
ผ้าอาบน้ำฝน ต้องทำให้ถูกต้องตามพระวินัยบัญญัติ คือ เป็นผ้าผืนยาว ๖ คืบ พระสุคต กว้าง ๒ คืบ พระสุคต ประมาณยาว ๔ ศอกกับ ๓ กระเบียด กว้าง ๑ ศอก ๑ คืบ ๔ นิ้ว ๑ กระเบียด ถ้ากว้างยาวเกินขนาดดังกล่าว ภิกษุผู้ใช้สอยต้องอาบัติ ต้องตัดส่วนที่กว้างยาวเกินประมาณนั้นออกเสีย จึงแสดงอาบัติได้ ทรงบัญญัติเขตกาลที่จะแสวงหาเขตกาลที่จะทำเขตกาลที่จะนุ่งห่ม และเขตกาลอธิษฐานใช้สอยไว้ดังนี้ 
๑) ตั้งแต่แรมค่ำเดือนเจ็ด ถึงวันเพ็ญเดือนแปด รวมเวลาสองปักษ์เป็นเวลาหนึ่งเดือน ในปลายฤดูร้อนเป็นเขตแสวงหา 
๒) ตั้งแต่ขึ้นค่ำเดือนแปดถึงวันเพ็ญ เป็นวันกึ่งเดือนท้ายฤดูร้อน เป็นเขตกาลทำนุ่งห่ม 
๓) ตั้งแรมแรมค่ำเดือนแปด ไปจนสิ้นฤดูฝน คือวันเพ็ญเดือนสิบสอง รวมเวลาสี่เดือน เป็นเขตกาลอธิษฐานใช้สอย 
ถ้ายังไม่ถึงเขตกาลที่ทรงอนุญาตไว้นี้ ภิกษุแสวงหาได้มา หรือทำนุ่งห่ม หรืออธิษฐานใช้สอยท่านปรับอาบัติ 
ด้วยเหตุผลดังกล่าว เมื่อถึงกาลที่ภิกษุจะต้องแสวงหาผ้าอาบน้ำฝน ตั้งแต่แรมค่ำเดือนเจ็ดเป็นต้นไป จนถึงวันเพ็ญเดือนแปด ทายกจึงมักถือโอกาสบำเพ็ญกุศล โดยจัดหาผ้าอาบน้ำฝน แล้วนำไปถวายในที่ประชุมสงฆ์ กำหนดถวายระหว่างข้างขึ้นเดือนแปด ตั้งแต่วันขึ้นค่ำหนึ่งเป็นต้นไป ปัจจุบันกำหนดวันถวายเป็นหมู่ในวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนแปด คือก่อนวันเข้าพรรษาหนึ่งวัน ในการถวายมีระเบียบปฏิบัติดังนี้ 
๑) ในวันกำหนดถวายผ้า ภิกษุสามเณร และอุบาสกอุบาสิกา ควรประชุมพร้อมกันในโรงอุโบสถ หรือในศาลาการเปรียญ ก่อนถวายผ้าภิกษุ ผู้สามารถรูปหนึ่งพึงแสดงธรรมอนุโมทนา ๑ กัณฑ์ ถ้าวันถวายกำหนดในวันธรรมสวนะ เทศน์กัณฑ์ธรรมสวนะควรต่อท้ายอนุโมทนาทานด้วยเลย 
๒) เมื่อแสดงธรรมจบแล้ว ทายกกราบพระและว่า นโม พร้อมกันสามจบ ต่อจากนั้นกล่าวคำถวายผ้า ฯ ซึ่งตั้งไว้ ณ เบื้องหน้าต่อหน้าพระสงฆ์ ทั้งคำบาลี และคำแปล ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , วสฺสิกสาฏิกานิ , สปริวารานิ , ภิกฺขุสงฺฆสฺส , โอโนชยาม , สาธุโน ภนฺเต , ภิกขุสงฺโฆ , 
อิมานิ , วสฺสิกสาฏิกานิ , สปริวารานิ , ปฏิคฺคณฺหาตุ , อมฺหากํ ฑฆรตฺตํ หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวายผ้าอาบน้ำฝน กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าอาบน้ำฝน กับทั้งบริวารเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
ระหว่างกล่าวคำถวาย พระสงฆ์ทั้งหมดควรประนมมือ จบคำถวายแล้วรบ "สาธุ" พร้อมกัน แล้วเจ้าอธิการแจกจีวรของวัดนั้นออกรับผ้าแทนสงฆ์ ประเคนเสร็จแล้วพระสงฆ์อนุโมทนา บทวิเสสอนุโมทนาในทานนี้นิยมใช้บทกาเล ททนฺติ... ทายกพึงกรวดน้ำเสร็จแล้วประนมมือรับพรจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายผ้าจำนำพรรษา 
ผ้าจำนำพรรษา หมายถึงผ้าที่ถวายแก่ภิกษุผู้อยู่จำพรรษาครบ สามเดือน เว้นผ้ากฐิน เป็นพิเศษส่วนหนึ่ง ที่พระผู้มีพระภาคทรงอนุญาตให้ ภิกษุผู้จำพรรษาครบสามเดือน กราบอนุโมทนากฐินแล้วรับและบริโภคใช้สอยได้ ภายในกำหนดห้าเดือน อันเป็นเขตอานิสงส์กฐิน คือนับตั้งแต่แรมค่ำเดือนสิบเอ็ด ถึงขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนสิบสองเท่านั้น ถ้าถวายผ้านอกกาลนี้ไม่นับเป็นผ้าจำนำพรรษา การถวายผ้าในเขตดังกล่าวนี้เป็นการสงเคราะห์ภิกษุ กำลังต้องการจีวรมาผลัดเปลี่ยนของเก่าในระหว่างจีวรกาล จึงนิยมทำกันมาแต่ครั้งพุทธกาล ในทางราชการของไทยปรากฏทำเป็นแบบแผนขึ้นในรัชสมัย พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว มีแจ้งอยู่ในพระราชพิธีสิบสองเดือน ในปัจจุบันงดมานานแล้ว สำหรับชาวบ้านยังทำกันอยู่บ้าง มีระเบียบปฏิบัติที่ทำกันทั่วไปคือ 
ผ้าที่ถวายนั้นไม่จำกัดให้เป็นอย่างเดียวกัน จะเป็นผ้าไตรจีวรสำเร็จรูปทั้งไตร หรือผืนใดผืนหนึ่งก็ได้ แม้ผ้าขาวก็ได้ บางทีมีไทยธรรมอย่างอื่นเป็นบริวารด้วย เมื่อถึงกำหนดทายก และชาวบ้านนำผ้าและไทยธรรม ไปพร้อมยังสถานที่นัดภายในวันมีโรงอุโบสถ หรือศาลาการเปรียญ เมื่อได้เวลาพระสงฆ์ลงประชุม ถ้าเจ้าภาพคนเดียวมีไทยธรรมเหมือน ๆ กัน ก็กล่าวคำถวายแล้วประเคนเรียงไปโดยลำดับ แต่ถ้าทำร่วมกัน ผ้าและของไม่เหมือนกัน ก็ต้องติดเลขหมายแล้วถวายให้พระสงฆ์ไปจับสลาก ก่อนจับสลากทายกกล่าวคำถวาย ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต วสฺสาวาสิกจีวรานิ , สปริวารานิ , ภิกขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , 
สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุสงฺโฆ , อิมานิ , วสฺสาวาสิกจีวรานิ , สปริวารานิ , ปฏิคณฺหาตุ , 
อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าจำนำพรรษา กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าจำนำพรรษา กับทั้งบริวารเหล่านี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
ระหว่างทายกกล่าวคำถวายพระสงฆ์ควรประนมมือ พอจบคำถวายก็รับ "สาธุ" พร้อมกัน ทายกถวายของแล้วอนุโมทนา 
บทวิเสสอนุโมทนาในทานนี้นิยมใช้บท กาเล ททนฺติ... ทายกกรวดน้ำ แล้วประนมมือรับพรไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายผ้าอัจเจกจีวร 
ผ้าอัจเจกจีวร คือผ้าจำนำพรรษาที่ทายกรีบด่วนถวายก่อนกำหนดกาลดังกล่าวแล้วในเรื่องการถวายผ้าจำนำพรรษา แต่อยู่ในเขตที่มีพุทธานุญาตให้รับได้ ผ้าอัจเจกจีวรถวายก่อนออกพรรษา ภายในกำหนดสิบวัน คือนับแต่วันขึ้นห้าค่ำเดือนสิบเอ็ด ไปถึงวันกลางเดือนสิบเอ็ด ซึ่งเป็นวันออกพรรษา มีประเพณีถวายกันมาแต่ครั้งพุทธกาล มีคำถวาย ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , อจฺเจกจีวรานิ , สปริวารานิ , ภิกฺขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , 
สาธุโน ภนฺเต , ภิกขุ สงฺโฆ , อิมานิ , อจฺเจกจีวรานิ , สปริวารานิ , ปฏิคฺคณฺหาตุ 
อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ผ้าอัจเจกจีวร กับทั้งบริวารเหล่านี้แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับผ้าอัจเจกจีวรกับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
การประเคน พระสงฆ์สวดอนุโมทนา ทายกกรวดน้ำ ตามแบบเดียวกับเรื่องการถวายผ้าจำนำพรรษา จนเสร็จพิธี 
การทอดผ้าป่า 
ผ้าป่า ครั้งพุทธกาลเรียกว่า ผ้าบังสุกุลจีวร คือผ้าเปื้อนฝุ่นที่ไม่มีเจ้าของหวงแหน ทิ้งอยู่ในที่สาธารณะ ประเพณีการทอดผ้าป่ามีมาแต่ครั้งพุทธกาล เมื่อยังไม่ทรงอนุญาตให้ภิกษุรับคฤหบดีจีวร คือจีวรที่ชาวบ้านถวายโดยเฉพาะ ทรงอนุญาตแต่เพียงให้ภิกษุแสวงหาผ้าบังสุกุล นำมาซักฟอกตัดเย็บเป็นจีวรผืนใดผืนหนึ่งที่ต้องการ แล้วใช้นุ่งห่ม พุทธศาสนิกชนเห็นความลำบากของภิกษุในเรื่องนี้ ประสงค์จะบำเพ็ญกุศล ไม่ขัดต่อพุทธบัญญัติ จึงได้จัดหาผ้าที่สมควรแก่สมณบริโภค ไปทิ้งไว้ตามที่ต่าง ๆ โดยมากเป็นป่าช้าที่รู้ว่าภิกษุผู้แสวงหาเดินไป จึงเรียกว่าผ้าป่าในภาษาไทยเรา 
ในครั้งนั้น การทอดผ้าป่าไม่ได้นิยมกาล ต่อมาเมื่อทรงบัญญัติจีวรกาล คือการแสวงหา และทำจีวรขึ้น จำกัดอยู่หนึ่งเดือน นับแต่ออกพรรษาแล้ว และถ้าได้กรานกฐินด้วย จะขยายออกไปอีกสี่เดือนจนถึงวันเพ็ญเดือนสี่ การทอดผ้าป่าจึงนิยมทำขึ้นกันในระยะนี้ ส่วนมากในฤดูออกพรรษาใหม่ ๆ 
การทอดผ้าป่าที่ทำในประเทศไทย มีทำกันหลายอย่างคือ ทอดผ้าป่าและเลยทอดกฐินด้วยก็มี ทำกันอย่างสัณฐานประมาณ คือ เอาเครื่องไทยธรรมใส่ภาชนะ แล้วเอากิ่งไม้ปักเอาผ้าห้อย อุทิศตั้งไว้ตามทางที่พระเที่ยวบิณฑบาตรผ่านมา หรือนำไปตั้งไว้ตามพระอาราม แล้วให้สัญญาณให้พระภิกษุรู้ว่า มีผ้าป่ามาถึงที่ก็มี ที่ทำกันอย่างขนานใหญ่ให้ทายกรับไปคนละองค์จนครบจำนวนภิกษุสามเณรทั้งวัด แล้วนำมาทอดพร้อมกันตามกำหนด แห่แหนกันมา แล้วประชุมถวายอุทิศต่อหน้าพระภิกษุสงฆ์ก็มี บางแห่งทำผ้าป่าบรรทุกเรือพ่วงไปทางน้ำเรียกกันว่าผ้าป่าโยง ผ่านไปถึงวัดไหนก็ทอดวัดนั้นเรื่อยไปก็มี 
พิธีทอดผ้าป่า มีข้อสำคัญอยู่ว่าให้อุทิศเป็นผ้าป่าจริง ๆ อย่าเจาะจงถวายแก่ผู้ใดโดยเฉพาะ ถ้าทอดลับหลังพระภิกษุสงฆ์ผู้รับ เพียงแต่ตั้งใจขณะทอดว่าขออุทิศผ้า และเครื่องบริวารเหล่านี้แก่พระภิกษุผู้ต้องการผ้าบังสุกุลมาถึงเฉพาะหน้าเท่านี้ก็ถือว่าได้ทอด และถวายผ้าป่าแล้ว 
ถ้าเป็นการทอดผ้าป่าหมู่ต่อหน้าสงฆ์ผู้รับ พึงว่าคำอุทิศถวายทั้งบาลี และคำแปล ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , ปํสุกุลจีวรานิ , สปริวารานิ , ภิกขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , 
สาธุโน ภนฺเต , ภิกขุสงฺโฆ , อิมานิ , ปํสุกุลจีวรานิ , สปริวารานิ , ปฏิคฺคณฺหาตุ 
อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าบังสุกุลจีวรกับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ผ้าบังสุกุลจีวร กับทั้งบริวารเหล่านี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
สำหรับภิกษุผู้ชักผ้าป่า ไม่ว่าเป็นผ้าแบบใด พึงยืนสงบตรงหน้าผ้า เอื้อมมือขวาจับผ้าให้จับหงายมือ แล้วกล่าววาจาหรือบริกรรมในใจว่า
อิมํ ปํสุกุลจีวรํ อสฺสมมิกํ มยฺหํ ปาปุณาติ 
กล่าวจบแล้วชักผ้านั้นมา เป็นอันเสร็จพิธี 
ถ้าเป็นผ้าป่าถวายหมู่เมื่อชักแล้ว พึงอนุโมทนาด้วยบท วิเสสอนุโมทนา ในทานนี้นิยมใช้บท สพฺพพุทฺธานุภา เวน... หากเป็นผ้าป่าเฉพาะรูป อนุโมทนาด้วยสามัญ อนุโมทนาเท่านั้นก็ได้ 
ทายกพึงกรวดน้ำ และประนมมือรับพรจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี การถวายธูปเทียน และดอกไม้เพื่อบูชา 
การถวายธูปเทียนดอกไม้ในที่นี้หมายถึงการถวายให้พระสงฆ์ นำไปบูชาพระอีกต่อหนึ่ง เท่าที่นิยมโดยทั่วไป ได้แก่การถวายในวันเข้าพรรษา เช่นถวายธูปเทียนประจำพรรษา ถวายธูปเทียนดอกไม้ เพื่อภิกษุสามเณรนำไปสัการะในพิธีเข้าพรรษา 
วิธีถวายธูปเทียนดอกไม้ นิยมทำกันสองแบบ แบบหนึ่งจัดถวายโดยประเคนเป็นรูป ๆ เช่นเดียวกับการถวายในงานต่าง ๆ หรือนำเอาไปตั้งเป็นที่ ๆ แล้วให้ภิกษุสามเณรเดินเรียงเข้ามารับตามลำดับอย่างรับบาตร มักใช้ในการถวายวันเข้าพรรษา แบบนี้ไม่ต้องกล่าวคำถวาย พระสงฆ์ไม่ต้องอนุโมทนาทันที อีกแบบหนึ่งนำมาตั้งต่อหน้าพระภิกษุสงฆ์ แล้วกล่าวคำถวาย เช่นนำ เทียนประจำพรรษา พร้อมทั้งเครื่องสัการะต่าง ๆ มาถวายประจำพระอุโบสถในวันเข้าพรรษา แบบนี้ต้องให้พระภิกษุสงฆ์ประชุมพร้อมกัน แล้วทายกกล่าวคำถวายทั้งคำบาลี และคำแปล ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต , ทีปธูปปุปฺผวรานิ , รตนตฺตยสฺเสว , อภิปูเชม , อมฺหากํ , 
รตนุตฺตยสฺส บูชา , ฑีฆรตฺตํ หิตสุขาวหา , โหตุ , อาสวกฺขยปฺ ปตฺติยา 
ข้าแต่พระคุณเจ้าทั้งหลายผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาธูปเทียนและดอกไม้ อันประเสริฐเหล่านี้แก่พระรัตนตรัย กิริยาที่บูชาแก่พระรัตนตรัยนี้ จงเป็นผลนำมาซึ่งประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน จงเป็นไปเพื่อให้ถึงซึ่งพระนิพพาน เป็นที่สิ้นไปแห่งอาสวกิเลส เทอญ ฯ 
เมื่อทายกกล่าวคำถวายจบ พระสงฆ์รับ "สาธุ" พร้อมกัน แล้วอนุโมทนา วิเสสอนุโมทนา ในทานนี้นิยมใช้ บท เต อตฺถลทฺธา... ทายกกรวดน้ำแล้วประนมมือรับพรไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายธงเพื่อบูชา 
ธงเป็นหลักกุศลทานอย่างหนึ่ง ใช้สำหรับยกขึ้นเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าที่ตรงนั้นเป็นที่วัด หรือที่ตั้งปูชนียสถาน สำหรับประดับบูชาปูชนียวัตถุสถานให้งดงาม และประกอบการศาสนพิธีอย่างอื่น ๆ อีกประการหนึ่ง ถือเป็นประเพณีนานมาแล้วตั้งแต่ก่อนพุทธกาล ธงที่นิยมใช้ในพระพุทธศาสนา เป็นธงทำด้วยผ้าผืนยาวทั้งผืน 
สำหรับยกขึ้นเหนือที่ตั้งปูชนียวัตถุสถาน เพื่อเป็นเครื่องหมายให้รู้ เป็นธงขนาดใหญ่ หน้ากว้างประมาณหนึ่งศอก หรือศอกเศษทำเป็นธงปฏาก คือเย็บผ้าด้านหนึ่งติดกับก้านไม้ ซึ่งเหลาให้แข็งแรงพอสมควร ให้ก้านไม้นั้นยาวเลยหน้าผ้าออกไปทั้งสองข้าง สำหรับผูกสายโยงติดธงริ้วรูปสามเหลี่ยมเล็กที่หัวก้านไม้ทั้งสองข้าง และผูกเชือกทำสายโยงที่หัวก้านไม้แต่ละเส้น รวบปลายเชือกโยงสองเส้นนั้นให้ติดกันในตอนบน มัดกับคันธงที่ทำด้วยเสาหรือไม้ไผ่ทั้งลำ ส่วนหน้าผ้าตอนปลายอีกด้านหนึ่ง ก็เย็บติดกับก้านไม้เหลายาวกว่าหน้าผ้า และติดธงริวเล็กที่หัวก้านไม้ทั้งสองข้าง ผืนผ้าจะเขียนลวดลายหรือรูปประกอบก็ทำได้ตามที่เห็นสมควร ธงดังกล่าวเป็นแบบธงปฏากของโบราณ อาจทอเป็นธงทั้งผืนโดยเฉพาะเป็นรูปตัวตะขาบ โดยใส่ซี่ไม้ไผ่หรือหวายในขณะทอเป็นระยะ ๆ ติดธงริ้วเล็ก ๆ ที่หัวซี่ที่ใส่นั้นด้วย เมื่อเสร็จเป็นผืนธงแล้วยกขึ้นดูไกล ๆ คล้ายตัวตะขาบ บางแห่งวัวัฒนาการรูปธงมาเป็นธงชาย คือทำด้วยผืนผ้ายาวขนาดเท่าหน้ากว้างของผ้าส่วนครึ่งเศษเล็กน้อย ติดหน้ากว้างของผ้ากับคันธง เมื่อยกคนธงขึ้นแล้วปล่อยให้ผืนธงเป็นชายสบัดพริ้วไปตามลม ธงแบบนี้เรียกว่า ธงชาย มักนิยมทำด้วยผ้าสีเหลือง กลางผืนธงมีรูปเสมาธรรมจักร เรียกกันว่า ธงธรรมจักร เป็นเครื่องหมายของพระพุทธศาสนาโดยเฉพาะ 
สำหรับธงประดับปูชนียวัตถุสถาน และสำหรับประกอบศาสนพิธีอื่น ๆ ส่วนมากนิยมทำเป็นธงชาย และธงริ้วขนาดเล็ก สำหรับใช้ห้อย และติดบูชาตามบริเวณปูชนียวัตถุสถาน หรือบริเวณพิธี 
การถวายธง มีเรื่องเล่าว่า ผู้ไปในทางกันดาร ไปพบเจดีย์สถานที่ควรบูชา ไม่มีอะไรจะบูชา จึงเอาผ้าสาฏกแบบผ้าห่มของตนผูกปลายไม้ยกขึ้นปักบูชา ดังนั้น ธงบูชาจึงเป็นรูปธงปฏากแต่ดังเดิม และธงนี้นับเข้าเป็นเครื่องบูชาอย่างสูงประการหนึ่ง ทำกันเป็นประเพณีมานานแล้ว ในคราวถวายผ้ากฐินวัดใดแล้ว นิยมถวายยกธงขึ้นไว้หน้าวัดนั้นด้วย เพื่อเป็นการบูชาพระรัตนตรัย และเป็นเครื่องหมายให้รู้ว่าวัดนั้นได้รับกฐินไปแล้ว บางแห่งนิยมถวายธงบูชาในเทศกาลตรุษสงกรานต์ อันเป็นเทศกาลเปลี่ยนปีศักราชในสมัยก่อน 
การถวายธงผู้ถวายไม่ต้องประกอบพิธีอะไรมาก นอกจากเตรียมธงถวายพร้อมที่จะยกขึ้นบูชา แล้วนำไปยังสถานที่ที่ต้องการจะยกขึ้นบูชา ก่อนยกพึงตั้งจิตระลึกถึงคุณพระรัตนตรัย ด้วยการจุดธูปเทียน กล่าวคำบูชาพระรัตนตรัยก่อน แล้วกล่าวคำถวายธงตามแบบ ถ้าร่วมกันถวายหลายคนให้กล่าวคำถวายพร้อม ๆ กัน ดังนี้ 
มยํ อิมินา , ธชปฏาเกน , รตนตฺตยํ , อภิปูเชม , อยํ ธชปฏาเกน , รตนตฺตยํปูชา , 
อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย , สํวตฺตตุ 
ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชาพระรัตนตรัย ด้วยธงแผ่นผ้านี้ กิริยาที่บูชา พระรัตนตรัยด้วยธงแผ่นผ้านี้ 
ขอจงเป็นไปเพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
การถวายเวจกุฎี 
เวจกุฎี ได้แก่ส้วมหรือสถานที่สำหรับถ่ายอุจจาระ และปัสสาวะในวัด มีพุทธานุญาตไว้ให้ภิกษุสงฆ์สร้างขึ้น ให้เป็นส่วนสัดโดยเฉพาะ ห้ามภิกษุสามเณรถ่ายไม่เป็นที่ ยิ่งกว่านั้นยังทรงตั้งธรรมเนียมที่พึงปฏิบัติในเวจกุฎีไว้หลายประการ จัดเป็นกิจวัตรหนึ่งในพระวินัย 
การถวายเวจกุฎี นับเข้าในเสนาสนะทานประการหนึ่ง แต่เวจกุฎีตั้งอยู่ในที่ไม่เปิดเผย ไม่สมควรที่จะไปประกอบพิธียังสถานที่ตั้ง ควรใช้สถานที่สมควรในวัด เช่น ศาลาการเปรียญ เป็นบริเวณพิธี แล้วล่ามสายสิญจน์จากเวจกุฎีที่จะถวายมายังบริเวณพิธี พิธีถวายให้เจ้าภาพจับสายสิญจน์ประนมมือ ตั้งนโมสามจบ แล้วกล่าวคำถวายตามแบบ ดังนี้ 
มยํ ภนฺเต อิมํ , วจฺจกุฎึ อาคตา นาคตสฺส จาตุทฺทิสสฺส , ภิกษุสงฺฆสฺส , 
โอโณชยาม , สาธุโน ภนฺเต , ภิกขุ สงฺฆสฺโฆ อิมํ วจฺจกฎี ปฏิคฺคณฺหาตุ 
อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวาย เวจกฎีหลังนี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ที่มีในทิศทั้งสี่ ที่มาแล้วก็ดี ที่ยังไม่มาก็ดี ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ เวจกุฎี หลังนี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
พระสงฆ์รับ "สาธุ" และอนุโมทนา ใช้วิเสสอนุโมทนาบทวิหารทานคาถา สีตํ อุณหํ ปฏิหนฺติ...อย่างอนโมทนาทานอื่น ๆ เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายสะพาน 
สะพานท่านจัดเข้าไว้ในอนวัชชกรรม การกระทำที่ไม่มีดโทษ มีแต่ประโยชน์เดียว ซึ่งพระพุทธเจ้าทรงยกย่องว่า เป็นมงคลประการหนึ่ง เหมือนการขุดบ่อสระ และปลูกสวนผลไม้ไว้ในวัด เป็นต้น การสร้างสะพานในวัด หรือเป็นทางเข้าวัด ต้องหวังผลให้เป็นสาธารณประโยชน์ คือต้องอุทิศให้เป็นของกลาง 
พิธีถวาย จะประกอบขึ้นในสถานที่ตั้งสะพานนั้น หรือจะทำที่ศาลาการเปรียญในวัดก็ได้ ถ้าประกอบห่างจากที่ตั้งสะพาน พึงล่ามสายสิญจน์จากสะพานไปยังบริเวณพิธี การถวายเช่นเดียวกับการถวายเสนาสนะอื่น ๆ ที่กล่าวแล้ว ผู้ถวายบูชาพระรัตนตรัยก่อนด้วย ตั้ง นโมสามจบ แล้วกล่าวคำถวายตามแบบ ถ้าล่ามสายสิญจน์พึงประกอบพิธีถวายด้วย คำถวายมี ดังนี้ 
มยํ ภนฺเต , อิมํ เสตํ , มหาชนานํ , สาธารณตฺถาย , นิยาเทม , สาธุโน ภนฺเต , สงฺโฆ , 
อิมสฺมึ , เสตุมฺหิ , นิยาทิเต สกฺขิโก โหตุ , อิทํ เสตุ ทานํ , อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย , สํวตฺตตุ. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอมอบถวาย ซึ่งสะพานนี้ เพื่อประโยชน์ทั่วไปแก่มหาชนทั้งหลาย ขอพระสงฆ์จงเป็นพยาน แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ในสะพานที่ข้าพเจ้าทั้งหลายได้มอบให้แล้วนี้ ขอเสตุทานนี้ จงเป็นไปเพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
จบคำถวายแล้วพระสงฆ์รับ "สาธุ" แล้วอนุโมทนา นิยมใช้บทวิเสสอนุโมทนา บทนิธิกัณฑ์ จบอนุโมทนาแล้ว เป็นอันเสร็จพิธี 
การถวายทานพิเศษ 

มีการถวายสิ่งอื่น ๆ นอกจากวัสดุสิ่งของอันเป็นปัจจัยสี่ ในการครองเพศบรรพชิต เรียกว่า ทานพิเศษ ได้แก่ การถวายปราสาทผึ้ง การถวายโรงอุโบสถ การถวายยานพาหนะ การถวายคัมภีร์พระไตรปิฎก และการถวายคัมภีร์พระธรรม 
พิธีถวายทำเช่นเดียวกับการถวายสิ่งอื่น ๆ ในลักษณะเดียวกันดังกล่าวมาแล้ว แตกต่างกันเพียงคำถวาย ดังนี้ 
คำถวายปราสาทผึ้ง มยํ ภนฺเต , อิมํ , สปริวารํ มธุปุปฺผปาสาทํ , อิมสฺมึ วิหาเร , ภิกฺขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม , สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุสงฺโฆ , 
อิมํ , สปริวารํ , มธุปุปผปาสาทํ ปฏิคคณฺหาตุ อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย 
ข้าแต่พระสงฆ์เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายปราสาทผึ้งกับบริวาร แก่พระภิกษุสงฆ์ ในวิหารวัดนี้ ขอภิกษุสงฆ์จงรับปราสาทผึ้งนี้ กับทั้งบริวาร ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
คำถวายโรงอุโบสถ มยํ ภนฺเต , อิมํ อุโปสถาคารํ , สงฺฆสฺส , นิยฺยาเทม , สาธุโน ภนฺเต , สงฺโฆ , อิมํ , อุโปสถาคารํ , ปฏิคฺคณฺหาตุ , อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอมอบถวาย ซึ่งโรงอุโบสถหลังนี้ แก่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับ ซึ่งอุโบสถหลังนี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
คำถวายยานพาหนะ มยํ ภนฺเต , อิมํ มานํ , ภิกฺขุสงฺฆสฺส , นิยฺยาเทม , สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุ สงฺโฆ , อิมํ , ยานํ , ปฏิคฺคณฺหาตุ , อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ , หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอมอบถวายซึ่งยานพาหนะนี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ซึ่งยานพาหนะนี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
คำถวายคัมภีร์พระไตรปิฎก มยํ ภนฺเต , อิมํ , สปริวารํ , เตปิฎก คนฺถํ สาตถํ สพฺพยญฺชนํ , เกวลปริปุณณํ ปริสุทฺธํ , จาตุทฺทิสสฺส ภิกฺขุสงฺฆสฺส , โอโณชยาม, สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุสงฺโฆ , อิมํ , สปริวารํ , เตปิฎกคนฺถํ , สาตฺกํ สพยญฺชนํ , เกวลปริปุณณํ , ปริสุทธํ ปฏิคฺคณฺหาตุ อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวาย ซึ่งคัมภีร์พระไตรปิฎก อันมีอรรถะและพยัญชนะครบถ้วนกระบวนความ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง กับทั้งบริวารเหล่านี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ผู้มีในทิศทั้งสี่ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ซึ่งคัมภีร์พระไตรปิฎก อันมีอรรถะพยัญชนะครบถ้วนกระบวนความ บริสุทธิ์บริบูรณ์สิ้นเชิง กับทั้งบริวารนี้ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์ และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
คำถวายคัมภีร์พระธรรม มยํ ภนฺเต , อิมํ , สปริวารํ , โปฏฐกคนฺถํ พหุชฺชนหิตาย , พหุชฺชนสุขาย , มหาเถเรหิ ยุตฺตปฺปยุตฺตํ ธมฺมลทฺธํ จาตุทฺทิสสฺส , ภิกฺขุสงฺฆสฺส โอโณชยาม. สาธุโน ภนฺเต , ภิกฺขุสงฺโฆ , อิมํ , สปริวารํ , โปฏฐกลนฺถํ. พหุชฺชนหิตาย , พหุชฺชนสุขาย มหาเถเรหิ ยุตฺตปฺปยุตฺตํ ธมฺมลทฺธํ , ปฏิคฺคณฺหาตุ , อมฺหากํ , ฑีฆรตฺตํ หิตาย , สุขาย. 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลายขอน้อมถวาย ซึ่งคัมภีร์พระธรรม อันพระมหาเถรทั้งหลาย ชำระสอบทานแล้ว อันเกิดขึ้นโดยธรรม อันได้มาโดยธรรม กับทั้งบริวารนี้ แก่พระภิกษุสงฆ์ ผู้มีในทิศทั้งสี่ ขอพระภิกษุสงฆ์จงรับ ซึ่งคัมภีร์พระธรรมอันพระมหาเถรทั้งหลาย ชำระสอบทานแล้ว อันเกิดขึ้นแล้วโดยธรรม อันได้มาโดยธรรม กับทั้งบริวารนี้ ของข้าพเจ้าทั้งหลาย เพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
ศาสนพิธีในเทศกาล 
งานวันตรุษสงกรานต์ 

วันตรุษสงกรานต์ เป็นเทศกาลวันสิ้นปีเก่าขึ้นปีใหม่ของคนไทย ซึ่งยึดถือสืบเนื่องเป็นประเพณีมาแต่โบราณกาล เป็นระยะเวลาเข้าฤดูร้อน ที่เสร็จจากการเก็บเกี่ยวข้าวจึงว่างจากงานประจำ มาร่วมกันทำบุญ แล้วมีการละเล่นสนุกสนานรื่นเริงกันในแต่ละหมู่บ้าน ตำบล หรือเมืองหนึ่ง ๆ 
วันตรุษ คือวันแรม ๑๕ ค่ำ เดือนสี่ ซึ่งถือเป็นวันสิ้นปีนักษัตรหนึ่ง ๆ ตามประเพณีไทยแต่โบราณ และถือเอาวันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนห้า ตามจันทรคติเป็นวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาได้เปลี่ยนไปถือแบบพม่าคือ ถือวันเปลี่ยนจุลศักราชใหม่ คือในวันสงกรานต์เป็นวันขึ้นปีใหม่ ซึ่งจะตรงกับวันที่ ๑๓ เมษายน ทางสุริยคติ และถือเอาวันที่ ๑๓,๑๔,๑๕ เมษายนของทุกปีเป็นเทศกาลสงกรานต์ 
เทศกาลตรุษ จะเริ่มตั้งแต่วันแรม ๑๕ ค่ำ เดือนสี่ของทุกปี ถือว่าเป็นวันพักผ่อนประจำปี หลังจากที่ได้ตรากตรำทำงานกันมาตลอดปี จะมีการทำบุญ และมีการละเล่นสนุกสนานรื่นเริงกัน หรือไม่ก็มีการเที่ยวเตร่ติดต่อกันไปจนถึงวันเปลี่ยนศักราชใหม่ในวันสงกรานต์ พวกแม่บ้านจะทำขนมไว้ประจำบ้าน เพื่อคอยต้อนรับแขกที่จะมาเที่ยวบ้าน และนำไปเยี่ยมเยียนญาติพี่น้องประจำปีกัน หนุ่มสาวก็ช่วยกันทำขนมโดยเฉพาะคือ ข้าวเหนียวแดง ข้าวเหนียวแก้ว คุยกันไป เล่นกันไป ร้องทำเพลงกันไปเป็นที่สนุกสนาน หรือจะมีการเล่นอื่น ๆ เช่น เล่นเพลงพวงมาลัยกันยามค่ำคืน เป็นต้น 
วันสงกรานต์ เป็นวันคาบเกี่ยวระหว่างปีต่อกัน ตามรูปศัพท์เดิม คำว่าสงกรานต์ แยกออกได้เป็นสองคำคือ สงฺกร แปลว่า ปนกัน หมายความว่าคาบเกี่ยวกัน อนฺต แปลว่าที่สุดสุดท้าย จึงแปลเอาความหมายว่าที่สุดของการคาบเกี่ยวกัน คือปีเก่ากำลังหมดไปคาบเกี่ยวกับปีใหม่ที่ย่างเข้ามา จะเห็นว่าในวันที่ ๑๓ หรือ ๑๔ เมษายน ตามทางสุริยคติในปฏิทินโหราศาสตร์ จะบอกกำหนดเวลาที่ดวงอาทิตย์จะยกเข้าไปสถิตย์ในราศีเมษ จะเห็นว่าในวันนั้นจะเป็นทั้งวันเก่าและวันใหม่ ในวันรุ่งขึ้นจึงเรียกว่า วันเนาว์ แปลว่าวันใหม่ แผลงมาจากคำบาลีว่า นวะ แปลว่าใหม่ 
เมื่อถึงวันสงกรานต์ชาวไทยเราจะพากันทำขนม โดยเฉพาะการกวนขนมกาละแมกันทั่วไป ตลอดจนขนมอย่างอื่น เพื่อเตรียมทำบุญตักบาตรฉลองวันปีใหม่ หนุ่มสาวจะแต่งกายสวยงาม พากันไปทำบุญตักบาตร เอาข้าวปลาอาหารไปให้ พ่อ แม่ ปู่ย่า ตายาย ที่ไปถือศีลกินเพลที่วัด หรือเอาไปส่งตามบ้านญาติที่อยู่ห่างไกล เป็นการไปเยี่ยมเยียนกันในปีหนึ่ง ๆ หมู่บ้านบางแห่งจะทำข้าวแช่ส่งกันถึงสามวันโดยถือคติตามแบบประวัติของวันสงกรานต์ 
เมื่อเสร็จจากภารกิจอย่างอื่นแล้ว จะมาจับกลุ่มกันเล่นการละเล่นต่าง ๆ ในตอนกลางวันจะมีการเล่นชักคะเย่อ เล่นลูกช่วงปา ลูกช่วงรำ พวกเด็ก ๆ จะเล่นเข้าผีกันเช่นผีลิงลม ผีกระด้ง ผีครก เป็นต้น เมื่อถึงเวลาค่ำ จะรวมกลุ่มกันเล่นเพลงแม่พวงมาลัย รำวง เล่นสะบ้าทอย สะบ้ารำ ตามประเพณีที่เคยเล่นกันมา 

ประเพณีทำบุญตักบาตรในวันสงกรานต์ นิยมทำกันสามวัน บางแห่งอาจถึงหกวันก็มี ในวันสุดท้ายของสงกรานต์ จะมีประเพณีสรงน้ำพระ โดยชาวบ้านจะนิมนต์เอาพระพุทธรูปประจำวัด หรือหมู่บ้าน ออกมาตั้งหรือแห่ ให้ชาวบ้านทั่วไปมาทำพิธีสรงน้ำพระกัน โดยใช้น้ำอบไทยไปพรมสรงน้ำพระพุทธรูป หลังจากนั้นจึงทำพิธีสรงน้ำพระสงฆ์ที่ประจำอยู่ในวัด 
ก่อนถึงวันพิธีสรงน้ำพระ จะมีทายกทายิกาของวัดมาจัดสถานที่ไว้ก่อน โดยตั้งลำรางสำหรับให้ชาวบ้านได้เทน้ำไว้ หากเป็นวัดโบราณ จะมีลำรางไว้เสร็จเรียบร้อย ลำรางดังกล่าวจะใช้ต้นตาลทั้งต้นมาขุดขัดเกลาให้เป็นรางน้ำ เพราะต้นตาลไม่ผุง่าย ทายกทายิกาจัดหาไม้ไผ่มาทำเป็นตีนกา แล้วใช้ตอกมัดให้ลาดต่ำไปโดยลำดับ จนถึงปลายรางน้ำที่จะไหลไปที่สรงน้ำ สำหรับที่สรงน้ำ จะเอาใบก้านมะพร้าวฉีกตรงกลางมากั้นที่ทาง ตามที่กะประมาณไว้เป็นรูปห้องสี่เหลี่ยม เป็นที่กั้นให้พระสงฆ์สรงน้ำผลัดผ้า มีประตูเข้าออก ปลายลำรางจะจ่อเข้าไปในห้องดังกล่าวนี้ 
เมื่อชาวบ้านสรงน้ำพระพุทธรูปแล้ว จะนิมนต์พระสงฆ์สามเณรทั้งวัดมาประชุมพร้อมกัน โดยมากจะเป็นที่ศาลาการเปรียญ และเป็นเวลาบ่าย ๆ เมื่อทายกทายิกาและชาวบ้านไปรับศีลห้าจากพระสงฆ์แล้ว จะนิมนต์พระสงฆ์เรียงองค์ไปตามลำดับ ตั้งแต่ประธานสงฆ์เป็นต้นเรื่อยไปคราวละองค์ ไปสรงน้ำที่ห้องดังกล่าว จะนั่งบนกระดานที่วางไว้ตรงปลายลำราง พวกทายกทายิกาที่อยู่ในห้องนั้น จะร้องบอกให้ชาวบ้านที่อยู่ตามลำราง ให้เทน้ำใส่ลงไปในลำรางได้ น้ำจะไหลตามลำรางจนถึงพระสงฆ์ในห้องน้ำ เสร็จจากรูปแรกแล้ว รูปต่อไปจนถึงสามเณรก็ทำในทำนองเดียวกันจนครบทุกรูป 
เสร็จจากการสรงน้ำแล้ว ชาวบ้านจะไปรวมกันบนศาลาการเปรียญอีกครั้งหนึ่ง จะนิมนต์พระสงฆ์ทั้งหมดสวดมาติกาบังสุกุลกระดูก ซึ่งชาวบ้านได้นำเอาโกศกระดูกของปู่ย่า ตายาย หรือพ่อแม่ มารวมกันไว้บนศาลา เพื่อให้พระสงฆ์สวดมาติกาบังสุกุล เป็นการทำบุญส่วน ปุพพเปตพลี เป็นการทำบุญให้ ปู่ย่า ตายาย พ่อแม่ ที่ล่วงลับไปแล้ว 
เมื่อทำพิธีสวดมาติกาบังสุกุลเสร็จเรียบร้อยแล้ว จึงไปรดน้ำญาติผู้ใหญ่ หรือผู้ใหญ่ที่เคารพนับถือ ผู้ใหญ่ก็จะให้ศีลให้พรให้ลูกหลานมีความสุขความเจริญตลอดไป 
ปัจจุบันทางราชการกำหนดให้วันที่ ๑๓,๑๔, และ ๑๕ เมษายนเป็นวันหยุดราชการประจำปี รวมสามวัน เรียกว่าวันสงกรานต์ 
งานบวชนาค 

งานบวชนับว่าเป็นธรรมเนียมประเพณีของชาวไทย ที่นับถือพระพุทธศาสนา เพราะผู้ที่มั่นคงในพระพุทธศาสนา มีจุดมุ่งหมายให้บุตรของตนได้เป็นศาสนทายาท สืบต่ออายุพระพุทธศาสนาให้ยืนยาวต่อไป อีกประการหนึ่งคือ ต้องการปลูกฝังบุตรของตนได้เรียนรู้หลักของพระศาสนา เพื่อจะได้นำไปประพฤติปฏิบัติในชีวิตการครองเรือนต่อไป 
กุลบุตรผู้จะบวชต้องมีอายุครบยี่สิบปีบริบูรณ์ เมื่ออายุครบบวชและสมัครใจจะบวชแล้ว พ่อแม่จะนำบุตรของตนไปหาเจ้าอาวาสวัดใกล้บ้าน หรือวัดที่ตนเป็นทายกทายิกาแห่งวัดนั้นอยู่ เพื่อมอบตัวให้ท่านบวชให้ การไปมอบตัวควรจัดดอกไม้ ธูปเทียน ไปถวายในการมอบตัวด้วย 
พระอุปัชฌาย์จะสอบถามพ่อแม่ หรือผู้ที่ขอบวชเอง ถึงวันเดือนปีเกิด และคุณสมบัติของผู้ที่จะขอบวช ถ้าเห็นว่ามีคุณลักษณะครบถ้วน ไม่เป็นคนต้องห้ามในการที่จะให้บรรพชาอุปสมบท ท่านก็จะรับเข้าบวช โดยมอบใบสมัครขอบรรพชาอุปสมบท และใบรับรองให้ไปกรอกรายการแล้วถวายท่านเป็นหลักฐาน ก่อนถึงวันบรรพชาอุปสมบทไม่น้อยกว่า ๑๕ วัน จากนั้นก็นัดหมายให้ผู้ที่จะบวชซึ่งเรียกว่า นาคหรือเจ้านาค มาฝึกซ้อมการปฏิบัติเกี่ยวกับพิธีบวช และกำหนดวันที่จะทำการบรรพชาอุปสมบท 
เมื่อมอบตัวแล้วต้องจัดเตรียมหาเครื่องบวชคือ บริขาร ๘ ดังมีในบาลี ดังนี้ 
ติจีวรญฺจ ปตฺโต จ วาสี สจิ จ พนฺธนํ ปริสฺสาวเนนทฏฺเฐเต ยุตุตโยคสฺส ภิกฺขุโน ได้แก่ ไตรจีวร บาตร พร้อมทั้งถลกบาตร มีด (มีดโกน) พร้อมหินลับมีด เข็มพร้อมทั้งกล่องและด้าย ประคตเอวรวมอยู่กับไตรจีวร และกระบอกกรองน้ำ 
เครื่องใช้อย่างอื่นเป็นส่วนประกอบในการบวช เช่น เสื่อ หมอน มุ้ง ร่ม รองเท้า ถุงย่าม กาน้ำ จาน ช้อน แปรง ยาสีฟัน สบู่ ขันน้ำ เครื่องใช้สำรอง เช่น ผ้าอาบน้ำ สบง ผ้าเช็ดตัว ผ้าเช็ดหน้า ผ้าขาวสำหรับนาคนุ่งวันบวช อย่างละหนึ่งผืน 
สำหรับไทยทาน ควรจัดไทยทานสำหรับถวายพระอุปัชฌาย์หนึ่งที่ สำหรับถวายพระคู่สวดสองที่ และสำหรับถวายพระอันดับ ๒๒ ที่ โดยมากนิยมนิมนต์พระในพิธีบวช ๒๕ รูป พร้อมทั้งพระอุปัชฌาย์และคู่สวด 
นาคจะต้องเตรียมท่องคำขานนาคให้ได้ การฝึกซ้อมการขานนาคมีสองแบบคือ แบบเก่าและแบบใหม่ แบบเก่าควรปฏิบัติ ดังนี้ 
ก่อนจะเข้าไปหาพระสงฆ์ทำพิธีบวช นาคจะนั่งอยู่แถวผนังโบสถ์ ด้านหน้าตรงกับพระประธาน เมื่อได้เวลาพ่อแม่พร้อมญาติ จะมอบผ้าไตรให้นาค โดยหยิบผ้าไตรจากพานแว่นฟ้า หากมีดอกไม้สดหุ้มไตรต้องหยิบมาด้วย นาคจะได้นำไปถวายพร้อมผ้าไตร เพื่อจะนำไปบูชาพระประธาน หากเป็นดอกไม้แห้งควรหยิบถอดออกไปเหลือแต่ผ้าไตรอย่างเดียว พ่อแม่จับผ้าไตรด้วยกันนั่งอยู่หน้านาค ส่วนนาคต้องนั่งคุกเข่ากราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วยื่นแขนออกไปรับไตรจีวร พ่อแม่วางให้บนท่อนแขน แล้วควรหลีกออกไปสองข้าง นาคอุ้มผ้าไตรไปหาพระอุปัชฌาย์ พอใกล้ที่นั่งสงฆ์ต้องทรุดตัวลงนั่งแล้วเดินเข่าเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ ประเคนผ้าไตรให้ท่านแล้ว คอยเอี้ยวตัวมาทางขวามือรับเครื่องสักการะทุกอย่างถวายพระอุปัชฌาย์ แล้วกราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง พระอุปัชฌาย์จะมอบผ้าไตรให้นาครับแล้วลุกขึ้นยืนก้มตัวพองามเตรียมว่าคำขานนาค ดังนี้ 
อุกาส วันฺทามิ ภนฺเต , สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต มยา กตํ ปุญญํ สามินา อนุโมทิตพฺพํ , สามินา กตํ ปญญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ สาธุ สาธุ อุนุโมทามิ , 
อุกาส การุญฺญํ กตฺวา ปพฺพชฺชํ เทถ เม ภนฺเต (นั่งคุกเข่าลงว่า) อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ 
ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ 
ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ 
สพฺพทุกฺขนิสฺสรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณตฺ ถาย , อิมํ กาสาวํ คเหตฺวา ปพฺพาเชถ มํ ภนฺเต , อนุกมฺปํ อุปาทาย (ว่าสามหน) 
จบแล้วน้อมถวายผ้าไตรให้กับพระอุปัชฌาย์ และกล่าวคำขอผ้าต่อไปว่า 
สพฺพทุกฺขนิสสรณ นิพฺพานสจฺฉิกรณตฺถาย , เอตํ กาสาวํ ทตฺวา ปพฺพา เชถ มํ ภนฺเต อมุกมฺปํ อุปาทาย (ว่าสามหน) 
จบแล้วกราบสามครั้ง ลงนั่งพับเพียบประนมมือฟังโอวาทจากพระอุปัชฌาย์ต่อไป จนกระทั่งสอนกัมมัฏฐาน นาคคอยว่าตามว่า 
เกสา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ (เป็นอนุโลม) 
ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกสา (เป็นปฏิโลม) 
เมื่อสอนกัมมัฏฐานเสร็จแล้ว จะมอบผ้าไตรให้ไปห่ม ถึงตอนนี้ท่านจะบอกให้นาคลุกขึ้นนั่งคุกเข่า หากสวมเสื้อคลุมไว้ หรือสวมเครื่องประดับต่าง ๆ หรือผ้าสไบเฉียงไว้ ท่านจะให้ถอดออก แล้วท่านจะคล้องอังสะให้ นาคต้องก้มศีรษะเตรียมให้ท่านสวม เสร็จแล้วคอยรับผ้าไตรที่ท่านจะมอบให้ไปห่มอุ้มไว้ แล้วถอยออกมาให้พ้นพระสงฆ์ก่อนจึงลุกขึ้นเดินตามพระสงฆ์ที่ท่านให้ไปช่วยห่อผ้าให้ 
เมื่อห่มผ้าเสร็จเรียบร้อยแล้ว พระสงฆ์จะพามานั่งหน้าพระคู่สวดที่จะให้ศีล นั่งคุกเข่าข้างหน้าปูผ้ากราบไว้แล้วรับเครื่องสักการะประเคนท่าน กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วลุกขึ้นยืน ก้มตัวลงเล็กน้อย กล่าวคำขอศีล ดังนี้ 
อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต , มยา ภตํ ปญฺญํ สามินา อมุโมทิตพฺพํ , สามินา กตํ ปุญฺญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ , สาธุ สาธุ อนุโมทานิ , 
อุกาส การุญฺญํ กตฺวา ติสรเณน สห สีลานิ เทถ เม ภนฺเต 
แล้วนั่งคุกเข่าว่า อหํ ภนฺเต สรณสีลํ ยาจามิ 
ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต สรณสีลํ ยาจามิ 
ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต สรณสีลัง ยาจามิ 
นโม ตสฺส ภควาโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส (สามหน) นาคว่าตามแล้วพระอาจารย์จะบอกว่า ยมหํ วทามิ ตํ วเทหิ นาครับว่า อาม ภนฺเต แล้วพระอาจารย์จะให้ไตรสรณาคมน์ นาคว่าตามท่านทีละวรรค ดังนี้ 
พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ 
ทุติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ทุติยมฺป สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ 
ตติยมฺปิ พุทธํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ตติยมฺปิ สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ 
จบแล้วพระอาจารย์ถามว่า ติสรณคมนํ นิฏฐิตํ นาครับว่า อาม ภนฺเต แล้วพระอาจารย์จะให้ศีลสิบต่อไปทีละสิกขาบท นาครับว่าตามทีละสิกขาบท ดังนี้ 
ปาณาติปาตา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
อทินฺนา ทานา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
อพฺรหมฺ จริยา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
มุสาวาทา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
สุราเมรยมชฺชปมาทฏฺฐานา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
วิกาลโภชนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
นจฺจคีตวาทิตวิสูกทสฺนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
มาลาคนฺธวิเลปน ธารณ มณฺฑนวิภูสนฏฺฐานา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
อุจ จา สยนมหา สยนา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
ชาตรูป รชต ปฏิคฺคหณา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
อิมานิ ทส สิกฺขาปทานิ สมาทิยามิ นาคว่าสามครั้ง แล้วกราบหนึ่งครั้ง จากนั้นลุกขึ้นยืนว่า อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต , สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต , มยา กตํ ปุญฺญํ สามินา อนุโมทิตพฺพํ , สามินา กตํ ปุญฺญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ , สาธุ สาธุ อนุโมทามิ แล้วนั่งลงกราบสามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีบรรพชาเป็นสามเณร 


ต่อจากนั้นนาคจะคอยรับประเคนบาตร พร้อมทั้งดอกบัวธูปเทียนหนึ่งกำ ซึ่งเตรียมใส่ไว้คู่กับบาตรจากพ่อแม่ เมื่อจะรับประเคนต้องปูผ้ากราบข้างหน้า พ่อแม่จะวางแล้วนาคอุ้มบาตรเข้าไปหาพระอุปัชฌาย์ เพื่อขอนิสสัยไปถวายบาตรแล้วคอยรับพานเทียนแพถวายพระอุปัชฌาย์ด้วย แล้วกราบสามครั้ง ลุกขึ้นยืนว่า 
อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต , มยา กตํ มยฺหํ ทาตพฺพํ , สาธุ สาธุ อนุโมทามิ , อุกาส การุญฺญํ กตฺวา นิสสยํ เทถ เม ภนฺเต , 
นั่งลงว่า อหํ ภนฺเต นิสฺสยํ ยาจามิ 
ทุติยมฺปิ อหํ ภนฺเต นิสฺสยํ ยาจามิ 
ตติยมฺปิ อหํ ภนฺเต นิสฺสยํ ยาจามิ 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า ปฏิรูปํ นาครับว่า สาธุ ภนฺเต 
พระอุปัชฌายฺกล่าวว่า โอปายิกํ นาครับว่า สาธุ ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า ปาสาทิเกน สมฺปาเทหิ นาครับว่า สาธุ ภนฺเต 
นาคว่าต่อ อชฺชตคฺเคทานิ เถโร มยฺหํ ภาโร อหมฺปิ เถรสฺส ภาโร ว่าสามครั้ง แล้วกราบลงหนึ่งครั้ง จากนั้นนั่งลงฟังพระอุปัชฌาย์ให้โอวาทต่อไป จนกระทั่งท่านตั้งชื่อฉายาว่าอะไร และบอกชื่อของท่าน เมื่อคู่สวดสอบถามว่า 
กินฺนาโมสิ แปลว่า ท่านชื่ออะไร 
ให้นาคตอบว่า อหํ ภนฺเต ติกฺขวีโร นาม ชื่อนาค 
นาคอยรับตอบท่านว่า อาม ภนฺเต 
เมื่อคู่สวดถามว่า โก นาม เต อุปชฺฌาโย แปลว่า อุปัชฌาย์ของท่านชื่อ อะไร 
ให้นาคตอบว่า อุปัชฌาย์โย เม ภนฺเต อายสฺมา ปภสฺสโร นาม ชื่ออุปัชฌาย์ 
นาคคอยรับตอบท่านว่า อาม ภนฺเต 
ต่อจากนั้น พระอุปัชฌาย์จะบอกชื่อบริขารให้นาค นาคต้องคอยรับว่า อาม ภนฺเต ทุกครั้ง เช่น 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยนฺเต ปตฺโต นาครับว่า อาม ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยํ สงฺฆาฏิ นาครับว่า อาม ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยํ อุตฺตราสงฺโค นาครับว่า อาม ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า อยํ อนฺตรวสโก นาครับว่า อาม ภนฺเต 
แล้วพระอุปัชฌาย์จะบอกต่อไปว่า คจฺฉ อมมฺหิ โอกาเส ติฏฐาหิ นาคไม่ต้องกล่าวอะไร แต่ให้ค่อย ๆ ถอยออกมา พอพ้นพระสงฆ์จึงลุกขึ้นเดินไปยังผนังโบสถ์ด้านหน้า อ้อมเสื่อที่ปูไว้ให้พระคู่สวดยืน ยืนประนมมือ หันหน้ามาทางพระสงฆ์ 
ต่อจากนั้นพระสงฆ์จะเริ่มสวดกรรมวาจาญัตติ ชาวบ้านที่มาร่วมในงานต้องนั่งอยู่กับที่ ห่างจากพระสงฆ์สองศอกขึ้นไป 
เมื่อพระคู่สวด สวดสมุมติ เป็นผู้สอบถามแล้ว จะออกไปยืนสวดบนเสื่อที่ปูไว้หน้านาคจนถึงคำว่า 
กุฏฺฐํ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
คณฺโฑ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
กิลา นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
โสโส นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
อปมาโร นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
มนุสฺโสสิ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
ปุริโสสิ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
ภุชิโสสิ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
อนโสสิ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
นสิ ราชภโฏ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตุหิ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
ปริปุณณนฺเต ปตฺตาจีวรํ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
กินนาโมสิ นาครับว่า นตฺถิ ภนฺเต 
จากนั้น พระคู่สวดจะสั่งให้นาครออยู่ตรงนี้ก่อน ท่านจะกลับไปที่ประชุมสงฆ์ เมื่อท่านกลับไปสวดกรรมวาจาในที่ประชุมสงฆ์จนถึงคำว่า อาคจฺฉาหิ ท่านจะกวักมือเรียก นาคจะต้องเข้าไปโดยอ้อมเสื่อที่ปูไว้ พอไปใกล้พระสงฆ์แล้วนั่งคุกเข่าลง กราบเบญจางคประดิษฐ์ พระสงฆ์ซ้ายขวาสามครั้ง พระสงฆ์นั่งอันดับ จะคอยจับบาตรให้ แล้วนั่งคุกเข่า กล่าวคำขออุปสมบท ดังนี้ 
สงฺฆมฺ ภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย 
ทุติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย 
ตติยมฺปิ ภนฺเต สงฺฆํ อุปสมฺปทํ ยาจามิ อุลลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ อนุกมฺปํ อุปาทาย 
แล้วกราบลงหนึ่งครั้ง นั่งอยู่กับที่ 
พระอุปัชฌาย์ท่านจะกล่าวคำเผดียงสงฆ์ เมื่อพระสงฆ์รับว่า สาธุ พร้อมกันแล้ว นาคจึงเดินเข้าไปนั่งในท่ามกลางสงฆ์ใกล้พระอาจารย์คู่สวด พระสงฆ์นั่งอันดับสองรูปริมสุด จะนั่งปิดหลังนาคทันที นาคนั่งคุกเข่าคอยฟังพระอาจารย์คู่สวด จะสวดสอบถามต่อไปเช่นเดียวกับตอนสวดสอบถามครั้งแรก นาคก็ตอบเช่นที่ตอบเมื่อตอนสวดสอบถามครั้งแรก จนถึงตอนสุดท้ายถามว่า โก นาม เต อุปชฺฌาโย นาคตอบ เช่น พระอุปัชฌาย์ มีฉายาว่า ปภสฺสโร ก็ตอบว่า อุปชฺฌาโย เม ภนฺเต อยสฺมา ปภสฺสโร นาม 
ต่อจากนี้ พระอาจารย์คู่สวดจะสวดกรรมวาจา เป็นญัตติ จตุตถกรรมวาจา นาคต้องนั่งอยู่อย่างนั้นเรื่อยไป พระอาจารย์จะสวดกรรมวาจาจนจบถึงสี่ครั้งจึงเป็นการเสร็จพิธี เมื่อเสร็จแล้ว พระใหม่ควรถอดถลกบาตรที่คล้องออกวางไว้ข้าง ๆ กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบ ประนมมือคอยฟังพระอุปัชฌาย์ จะบอกสอนอนุศาสน์แปด เป็นภาษาไทยก่อน แล้วจะบอกเป็นภาษาบาลีว่า 
อนุญฺญาสิ โข ภควา อุปสมฺปาเทตฺวา จตฺตาโร นิสฺสาย จตฺตาริ จ , อกรณียานิ อาวิกฺ ขิตุ ํ 
(๑) ปิณฺฑิยาโลปโภชนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ สงฺฆภนฺตํ อุทฺเทสภตฺตํ นิมนฺตนํ สลากภตฺตํ ปกฺขิกํ อุโปสถิกํ ปาฏิปทิกํ ฯ 
(๒) ปํสุกูลจีวรํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ เขมํ กปฺปาสิกํ โกเสยฺยํ กมฺพลํ สาณํ ภงฺคํ ฯ 
(๓) รุกฺขมูลเสนาสนํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชา ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ วิหาโร อฑฺฒโยโค ปาสาโท หมฺมิยํ คูหา ฯ 
(๔) ปูติมุตฺต เภชสชฺชํ นิสฺสาย ปพฺพชฺชํ ตตฺถ เต ยาวชีวํ อุสฺสาโห กรณีโย อติเรกลาโภ สปฺปิ นวนีตํ เตลํ มธุ ผาณิตํ ฯ 
(๑) อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา เมถุโน ธมฺโม น ปฏิเสวิตพฺโพ อนฺตมโส ติรจฺฉานคตายปิ โย ภิกฺขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวติ อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย เสยฺยถาปิ นาม ปริโส สีสจฺฉินฺโน อภพฺโพ เตนิ สรีรพนฺธเน ชีวิตุ ํ เอวเมว ภิกขุ เมถุนํ ธมฺมํ ปฏิเสวิตวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย ตนฺเต ยาชีวํ อกรณียํ ฯ 
(๒) อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา อทินฺนํ เถยยสงฺฆาตํ น อาทาตพฺพํ อนฺตมโส ติณสลากํ อุปาทาย โย ภิกฺขุ ปาทํ วา ปาทารหํ วา อติเรกปาทํ วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺ ขาตํ อาทิยติ อสฺสมโณ โหติ อสกฺย ปตฺติโย เสยฺถาปิ นาม ปณฺฑุปลาโส พนฺธนา ปมุตฺโต อภพฺโพ หริตตตาย เอวเมว ภิกฺขุ ปาทํ วา ปาทารหํ วา อติเรกปาทํ วา อทินฺนํ เถยฺยสงฺฆาตํ อาทิยิตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺปุตฺตีโย ตนฺเต ยาวชีวํ อกรณียํ ฯ 
(๓) อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา สญฺจิจจ ปาโณ น โวโรเปตพฺโพ อนฺตมโส กุนฺถกิปิลฺลิกํ อุปาทาย โย ภิกขุ สญฺจิจฺจ มนุสฺสวิคคหํ ชีวิตา โวโรเปติ อนฺตมโส ตพฺภปาตนํ อุปาทาย อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตฺติโย เสยฺยถาปิ นาม ปุถุสิลา ทฺวิธา ภินฺนา อปฺปฏิสนฺธิกา โหติ เอวเมว ภิกฺขุ สญฺจิจจ มนุสฺสวิคคหํ ชีวิตา โวโรเปตฺวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย ตนฺเต ยาวชีวํ อกรณียํ ฯ 
(๔) อุปสมฺปนฺเนน ภิกฺขุนา อุตฺตริมนุสฺสธมฺโม น อุลฺลปิตพฺโพ อนฺตมโส สุญญาคาเร อภิรมามติ โย ภิกฺขุ ปาปิจฺโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อภูตํ อุตฺตริมนุสฺสธมฺมํ อุลลปติ ฌานํ วา วิโมกฺขํ วา สมาธิ วา สมาปตฺตึ วา มคฺคํ วา ผลํ วา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย เสยฺยถาปิ นาม ตาโล มตฺถกจฺฉินฺโน อภพฺโพ ปุนวิรุฬฺหิยา เอวเมว ภิกฺขุ ปาปิจฺโฉ อิจฺฉาปกโต อสนฺตํ อภูตํ อุตฺตริมนุสสธมฺมํ อุลฺลปิตวา อสฺสมโณ โหติ อสกฺยปุตติโย ตนฺเต ยาวชีวํ อกรณียนฺติ 
อเนกปริยาเยน โข ปน เตน ภควตา ชานตา ปสฺสตา อรหตา สมฺมาสมฺพุทฺเธน สีลํ สมฺมทกฺขาตํ สมาธิ สมฺมทกฺขาโต ปญฺญา สมฺมทกฺขาตา ยาวเทว ตสฺส มทนิมมทนสฺส ปิปาสวินยสฺส อาลยสมุคฺ ฆาตสฺส วฏฺฏปจฺเฉทสฺส ตณฺหกฺขยสฺส วิราคสฺส นิโรธสฺส นิพฺพานสฺส สจฺฉิกิริยาย 
ตตฺถ สีลปริภาวิโต สมาธิ มหปฺผโล โหติ มหานิสํโส สมาธิปริภาวิตา ปญฺญา มหปฺผลา โหติ มหานิสฺสํสา ปญฺญาปริภาวิตํ จิตฺตํ สมฺเทว อาสเวหิ วิมุจฺจติ เสยฺยถีทํ กามาสวา ภวาสวา อวิชฺชาสวา 
ตสฺมาติห เต อิมสฺมึ ตถาคตปฺปเวทิเต ธมฺมวินเย สกฺกจฺจํ อธิสีลสิกฺขา สิกฺขิตพฺพา อธิจิตฺตสิกฺขา สิกขิตพฺพา อธิปญฺญาสิกฺขา สิกฺขิตพฺพา ตตฺถ อปฺปมาเทน สมฺปาเทตพฺพํ ฯ 
พระใหม่รับว่า อาม ภนฺเต แล้วลุกขึ้นนั่งคุกเข่ากราบสามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีในการบวช 
ลำดับพิธีบรรพชาอุปสมบท 
การลาญาติผู้ใหญ่ หรือผู้ที่เคารพนับถือ เป็นเรื่องที่ผู้จะบวชพึงทำ วิธีปฏิบัติคือ ให้เตรียมกระทงดอกไม้มีกรวยครอบ พร้อมธูปเทียนแพวางลงบนพาน เมื่อไปถึงผู้ที่จะรับการลา ก็เข้าไปกราบแบบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เปิดกรวยกระทงดอกไม้แล้วยกขึ้นประคองต่อหน้าผู้รับการลาพร้อมกับกล่าวคำขอขมาว่า 
"กรรมใดที่ข้าพเจ้าได้เคยล่วงเกินต่อท่าน ด้วยกายก็ดี ด้วยวาจาก็ดี ด้วยใจก็ดี ทั้งต่อหน้า และลับหลัง ทั้งที่รู้และไม่รู้ เพื่อความบริสุทธิ์แห่งเพศพรหมจรรย์ ขอท่านโปรดอโหสิกรรมนั้นแก่ข้าพเจ้าด้วย เทอญ" 
ญาติผู้ใหญ่จะเอื้อมมือมาแตะพาน แล้วกล่าวว่า 
"สาธุ ข้าพเจ้ายินดีอโหสิกรรมให้เธอทุกอย่าง และขอให้เธอจงอโหสิกรรมแก่ข้าพเจ้าด้วย ข้าพเจ้าขออนุโมทนาต่อท่านที่ได้บวชในพระพุทธศาสนา ทดแทนคุณบิดามารดา และจงเป็นศาสนทายาท สืบต่อพระพุทธศาสนาด้วยดีในเพศพรหมจรรย์ เทอญ" 
จบแล้วนาคจึงเอาพานวางที่พื้น กราบเบญจางคประดิษฐ์อีกสามครั้ง แล้วนั่งพับเพียบ เมื่อสนทนาพอสมควรแก่เวลาแล้ว บอกลาท่าน ท่านจะมอบพานดอกไม้ เทียนแพคืนให้ เพื่อจะได้นำไปใช้ลาท่านผู้อื่นต่อไป 
การปลงผม ถ้าในงานบวชนาคนั้นมีพิธีทำขวัญนาคด้วย ก็จะปลงผมก่อนวันบวชหนึ่งวัน แล้วนุ่งขาวห่มขาวเข้าพิธีทำขวัญนาค ถ้าไม่มีการทำขวัญนาคก็จะปลงผมในวันบวช โดยพ่อแม่หรือญาติผู้ใหญ่ หรือพระภิกษุที่คุ้นเคยเป็นผู้ขลิบปลายผมให้ก่อนเป็นพิธี ต่อจากนั้นก็ให้ผู้ทีโกนผมเป็นโกนผม หนวด เครา คิ้ว ให้หมดจด อาบน้ำแล้ว นุ่งขาวห่มขาว เตรียมเข้าโบสถ์เพื่อทำพิธีบรรพชาอุปสมบทต่อไป 
การนำนาคเข้าโบสถ์ ตามประเพณีนิยม มักปลงผมนาค และทำขวัญนาคที่บ้านของเจ้านาค วันรุ่งขึ้นจึงมีขบวนแห่ไปยังวัด แล้วแห่นาคไปยังโบสถ์ เวียนโบสถ์สามรอบแบบทักษิณาวรรต พร้อมด้วยเครื่องอัฏฐบริขารที่ใช้ในการบวช และของที่ถวายพระ จนครบแล้วจะให้นาคมาวันทาสีมา ส่วนเครื่องอัฏฐบริขาร และของถวายพระ จะนำไปตั้งในโบสถ์ก่อน การวันทาสีมา นาคจะจุดธูปเทียนที่เสมาหน้าโบสถ์ แล้วนั่งคุกเข่าประนมมือกล่าวคำวันทาสีมา ดังนี้ 
แบบที่หนึ่ง อิมินา สกฺกาเร พทฺธเสมายํ พุทฺธํ อภิปูชยามิ 
อิมินา สกฺกาเร พทฺธเสมายํ ธมฺมํ อภิปูชยามิ 
อิมินา สกฺกาเร พทฺธเสมายํ สงฺฆํ อภิปูชยามิ 
แล้วกราบปักดอกไม้ ธูปเทียน ณ ที่จัดไว้ 
แบบที่สอง อุกาส วนฺทามิ ภนฺเต สพฺพํ อปราธํ ขมถ เม ภนฺเต มยา กตํ ปญฺญํ สามินา 
อนุโมทิตพฺพํ สามินา กตํ ปุญญํ มยฺหํ ทาตพฺพํ สาธุ สาธุ อนุโมทามิ 
แล้วกราบ ปักดอกไม้ธูปเทียน ณ ที่จัดไว้ 
เมื่อวันทาเสมาเสร็จแล้ว นำนาคมาที่หน้าโบสถ์ นาคจะโปรยทาน เสร็จแล้วจึงจูงนาคเข้าโบสถ์ โดยบิดาจูงมือข้างขวา มารดาจูงมือข้างซ้าย พวกญาติคอยจับชายผ้าตามส่งข้างหลัง นาคต้องก้าวข้ามธรณีประตูห้ามเหยียบเป็นอันขาด เมื่อพ้นประตูไปแล้วให้เดินตรงไปที่พระปรธาน ไหว้พระประธานโดยใช้ดอกไม้ธูปเทียนอีกหนึ่งกำนำไปจุดธูปเทียนบูชาพระประธาน ใช้คำบูชาพระเหมือนคำวันทาเสมาข้างต้น แล้วกลับมานั่ง ณ ที่ซึ่งจัดไว้แถวผนังด้านหน้าของโบสถ์ 
พิธีบรรพชาอุปสมบท เมื่อถึงกำหนด พระสงฆ์ที่ได้รับอาราธนาในพิธีบวชมีพระอุปัชฌาย์ พระคู่สวดและพระอันดับจะเข้าอุโบสถ นั่งตามแผนผังที่คณะสงฆ์กำหนด พิธีเริ่มโดยพ่อแม่ผู้ปกครอง หรือญาติผู้ใหญ่เข้ามานั่งข้างหน้านาค เพื่อจะมอบผ้าไตรให้นาคเข้าทำพิธีบวชต่อพระสงฆ์ต่อไป ซึ่งปฏิบัติเช่นเดียวกับวิธีซ้อมขานนาคที่กล่าวมาแล้ว เมื่อพระอุปัชฌาย์บอก อนุศาสน์เสร็จแล้ว เจ้าภาพ ญาติมิตรถวายของพระอันดับ พระใหม่ถวายพระอาจารย์คู่สวดอีกหนึ่งรูปที่ยังมิได้ถวาย 
ต่อจากนั้นพระอุปัชฌาย์จะบอกให้พระใหม่มานั่งรับประเคนของบริวารบวชที่ด้านหน้า พระใหม่จะออกมานั่งพับเพียบอยู่ท้ายอาสนสงฆ์ ทอดผ้ากราบไว้ข้างหน้า หากผู้ชายประเคนก็รับของด้วยมือ หากเป็นผู้หญิงก็จับผ้ากราบไว้ โยมผู้หญิงจะวางบนผ้ากราบ เมื่อรับของประเคนหมดแล้ว ให้กลับนั่งหันหน้ามาทางพระสงฆ์ เตรียมกรวดน้ำ 
การกรวดน้ำ เมื่อเสร็จการรับประเคนแล้ว พระใหม่และพ่อแม่หรือผู้ปกครอง หรือเจ้าภาพในการบวชครั้งนี้ จะกรวดน้ำโดยใช้เต้ากรวดน้ำคนละที่ เมื่อพระอุปัชฌาย์ซึ่งเป็นประธานสงฆ์ในที่นั้น เริ่มบทอนุโมทนาว่า ยถา วารีวหา ปูร ....พระใหม่และญาติที่เป็นเจ้าภาพก็จะกรวดน้ำพร้อมกัน เมื่อขึ้นบท สพฺพีติโย.... ก็กรวดน้ำหมดเต้าพอดี นั่งพนมมือรับพรจากพระสงฆ์ เสร็จแล้วพระใหม่กราบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง เป็นอันเสร็จพิธีการบวช หลังจากนั้นพระพี่เลี้ยงจะนำพระใหม่ขึ้นจากโบสถ์ พระใหม่ควรสะพายบาตรด้วยไหล่ขวา มือซ้ายถือพัด ส่วนของอื่นให้ผู้อื่นถือไป พระพี่เลี้ยงจะนำออกทางประตูหน้า 
คำขอบรรพชาอุปสมบทใหม่ (สำหรับนาคคนเดียว) 
เอสาหํ ภนฺเต สุจิรปรินิพฺพุตมฺปิ , ตํ ภควนฺตํ สรณํ คจฺฉามิ , ธมฺมญฺจ ภิกขุสงฺฆญฺจ , ลเภยฺยาหํ ภนฺเต ตสฺส ภควโต ธมฺมวินเย , ปพฺพชฺชํ ลเภยฺยํ อุปสมฺปทํ 
ทุติยมฺปิ.... 
ตติยมฺปิ... 
อหํ ภนฺเต ปพฺพชฺชํ ยาจามิ , อิมานิ กาสายานิ วตฺถานิ คเหตฺวา ปพฺพาเชถ มํ ภนฺเต อนุกมฺปํ อุปาทาย 
ทุติยมฺปิ.... 
ตติยมฺปิ... 
ตจปัญจกัมมัฏฐาน โดยอนุโลม เกษา โลมา นขา ทนฺตา ตโจ 
โดยปฏิโลม ตโจ ทนฺตา นขา โลมา เกษา 
คำขอสรณาคมน์และศีล อหํ ภนฺเต สรณสีลํ ยาจาม 
ทุติยมฺปิ..... 
ตติยมฺปิ..... 
บทนมัสการ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส (สามหน) 
พระอาจารย์กล่าวว่า ยมฺหํ วทามิ ตํ วเทหิ 
ผู้บรรพชากล่าวรับว่า อาม ภนฺเต 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ สงฺฆงฺ สรณํ คจฺฉามิ 
ทุติยมฺปิ..... 
ตติยมฺปิ.... 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ พระอาจารย์ว่า ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ผู้บรรพชารับว่า อาม ภนฺเต 
ศีลสิบ ปาณาติ ปาตา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
ฯลฯ 
พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ธมฺมํ สรณํ คจฺฉามิ ชาตรูปรชตปฏิคฺคหณา เวรมณีสิกฺขาปทํ สมาทิยามิ 
คำขอนิสสัย อหํ ภนฺเต นิสฺสยํ ยาจามิ 
ทุติยมฺปิ ..... 
ตติยมฺปิ....... 
อุปชฺชาโย เม ภนฺเต โหหิ (ว่าสามหน) 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า ปฏิรูปํ 
ผู้บรรพชากล่าวรับว่า สาธุ ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า โอปายิกํ 
ผู้บรรพชากล่าวรับว่า สาธุ ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์กล่าวว่า ปาสาทิเกน สมฺปาเทหิ 
ผู้บรรพชากล่าวรับว่า สาธุ ภนฺเต 
อชฺชตคฺเคทานิ เถโร มยฺหํ ภาโร อหมฺปิ เถรสฺส ภาโร (ผู้บรรพชาว่าสามครั้ง) 
คำบอกสมณบริขาร 
พระอุปัชฌาย์บอกว่า อยนฺเต ปตฺโต ผู้บรรพชารับว่า อาม ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์บอกว่า อยํ สงฺฆาฏิ ผู้บรรพชารับว่า อาม ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์บอกว่า อยํ อุตตราสงฺโค ผู้บรรพชารับว่า อาม ภนฺเต 
พระอุปัชฌาย์บอกว่า อยํ อนฺตราวาสโก ผู้บรรพชารับว่า อาม ภนฺเต 
คจฺฉ อมุมฺหิ โอกาเส ติฏฐานิ 
คำขานนาค 
พระคู่สวดว่า กุฏฐํ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า คณฺโฑ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า กิลาโส นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า โสโส นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า อปมาโร นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า มนุสโสสิ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า ปุริโสสิ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า ภูชิสฺโสสิ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า อนโณสิ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า นสิ ราชภโฏ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า อนุญฺญาโตสิ มาตาปิตูหิ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า ปริปุณณวีสติวสฺโสสิ นาคขานว่า อหํ ภนฺเต (ปญฺญาธโร นาม) 
พระคู่สวดว่า กินฺนาโมสิ นาคขานว่า นตฺถิ ภนฺเต 
พระคู่สวดว่า โก นาม เต อุปชฺฌาโย นาคขานว่า อุปชฺฌาโย เม ภนฺเตอายสฺมา (ติสฺสเทโว นาม) 
คำขออุปสมบท 
สงฺฆมฺภนฺเต อุปสมฺปทํ ยาจามิ , อุลฺลุมฺปตุ มํ ภนฺเต สงฺโฆ , อนุกมฺปํ อุปาทาย 
ทุติยมฺปิ...... 
ตติยมฺปิ...... 
บุพพกิจสำหรับภิกษุใหม่ 
กิจเบื้องต้นที่พระบวชใหม่จะต้องกระทำคือการพินทุกัปปะ กับการอธิษฐานเครื่องบริขาร โดยพระพี่เลี้ยงจะแนะนำให้ คือ 
การทำพินทุกัปปะ เป็นธรรมเนียมของพระภิกษุว่า จะต้องทำเครื่องนุ่งห่ม ของใช้บางอย่างให้ถูกต้องตามพระวินัยเสียก่อนจึงจะนำไปใช้ได้ เป็นหน้าที่พระอุปัชฌาย์จะแนะนำ หรือมอบหมายให้พระรูปหนึ่งเป็นพี่เลี้ยงแนะนำการทำพินธุกัปปะให้ การทำพินธุกัปปะต้องใช้ดินสอดำหรือสีดำ ทำจุดให้เป็นวงกลมหรือเลขศูนย์เล็ก ๆ โดยใช้ดินสอลากลงไปที่มุมใดมุมหนึ่ง พอเป็นที่สังเกต พร้อมกับเปล่งคำว่า อิมํ พินทุกัปปํ กโรมิ 
เมื่อทำการพินทุกัปปะแล้วต้องทำการอธิษฐานบริขารนั้นด้วย จึงจะใช้ได้ บริขารที่กำหนดให้อธิษฐาน เช่น ไตรจีวร บาตร ผ้าปูนั่ง เป็นต้น ควรแยกอธิษฐานเป็นอย่าง ๆ ไป มีคำอธิษฐาน ดังนี้ 
ผ้าสังฆาฏิ อธิษฐานว่า อิมํ สงฺฆาฏึ อธิษฐานมิ 
ผ้าอุตตราสงค์ (จีวร) อธิษฐานว่า อิมํ อุตฺตราสงฺตํ อธิษฐานมิ 
ผ้าอันตรวาสก (สบง) อธิษฐานว่า อิมํ อนฺตรวาสกํ อธิษฐานมิ 
บาตร อธิษฐานว่า อิมํ ปตฺตํ อธิษฐานมิ 
ผ้าปูนั่ง อธิษฐานว่า อิมํ นิสีทนํ อธิษฐานมิ 
ผ้าปูที่นอน อธิษฐานว่า อิมํ ปจฺจถรณํ อธิษฐานมิ 
ผ้าอาบน้ำฝน อธิษฐานว่า อิมํ วสฺสิกสาฏิกํ อธิษฐานมิ 
เนื้อที่พระภิกษุฉันไม่ได้ มีสิบอย่าง ชาวบ้านไม่ควรถวาย คือ เนื้อมนุษย์ เนื้อช้าง เนื้อม้า เนื้อสุนัข เนื้องู เนื้อราชสีห์ เนื้อหมี เนื้อเสือโคร่ง เนื้อเสือดาว และเนื้อเสือเหลือง 
พระภิกษุใหม่จะต้องอยู่ปฏิบัติพระอุปัชฌาย์ อาจารย์ และเล่าเรียนพระธรรมวินัยอย่างจริงจัง เพื่อจะได้ปฏิบัติตามกิจของสงฆ์ตาม พระธรรมวินัยได้อย่างถูกต้อง ให้ปฏิบัติดี ปฏิบัติชอบ ตามคติของพระพุทธศาสนาอย่างแท้จริง ให้สมกับที่ได้เข้ามาบรรพชาอุปสมบทในพระพุทธศาสนา 
งานวันสารท 
วันสารท คือวันทำบุญกลางปีตามประเพณีนิยมของคนไทย มีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลให้แก่บุพพการี หรือญาติที่ล่วงลับไปแล้วในวันแรม ๑๕ ค่ำเดือนสิบ นับจากวันสงกรานต์ตามจันทรคติ จนถึงวันสาร์ทจะครบหกเดือนพอดี วันสารทในแต่ละท้องถิ่นของไทย จะมีการคลาดเคลื่อนไปบ้าง เช่น ในภาคกลางกำหนดวันแรม ๑๕ ค่ำเดือนสิบ เป็นวันรับตายาย หรือทำบุญกลางเดือนสิบ วันแรม ๑๕ ค่ำเดือนสิบ เป็นวันทำบุญอีกวันหนึ่ง เรียกว่า วันส่งตายาย ชาวรามัญกำหนด วันขึ้น ๑๕ ค่ำเดือนสิบเอ็ด เป็นวันสารทมอญ ชาวลาวกำหนดวันแรม ๑๔ ค่ำเดือนสิบเอ็ด เรียกว่า วันสารทลาว 
วันสารทเป็นวันที่ถือคติสืบต่อกันมาว่า ญาติที่ล่วงลับไปแล้ว จะมีโอกาสได้กลับมารับส่วนบุญ จากญาติพี่น้องที่มีชีวิตอยู่ ดังนั้นจึงมีการทำบุญอุทิศส่วนกุศลไปให้ญาติที่ล่วงลับไปแล้วในวันนี้ 
ขนมในวันสารทที่ใช้ในวันสารทจะขาดเสียมิได้อย่างหนึ่งคือ กระยาสารท เป็นขนมที่ต้องทำด้วยข้าวตอก กวนกับน้ำตาล ใส่ถั่วลิสง และงาลงไปด้วย เป็นของประเพณี นอกจากนี้บางแห่งก็มี ขนมกง ขนมเจาะหู ข้าวต้มลูกโยน ก็มี 
เมื่อถึงวันสารทไทย ชาวบ้านจะเตรียมแต่งตัว จัดแจงข้าวปลาอาหาร ขนมสารท พากันไปทำบุญตักบาตรที่วัดประจำหมู่บ้านของตน ทายกทายิกาก็ไปถือศีลกินเพลอยู่ที่วัดบ้าง บรรดาหนุ่มสาวก็เอากระยาสารทไปส่งตามหมู่บ้านญาติ เป็นการเยี่ยมเยียนถามสารทุกข์สุกดิบกันในโอกาสนี้ 
มีประเพณีของชาวพุทธที่แทรกอยู่ในเรื่องของสารทไทย คือบางแห่งนิยมตักบาตรน้ำผึ้ง บางแห่งมีตักบาตรน้ำตาลทรายด้วย โดยถือคติตอนที่พระพุทธเจ้าเสด็จประทับจำพรรษาอยู่ที่ป่าลิไลยก์พระองค์เดียว มีช้างป่าลิเลยยกะ กับลิง เป็นผู้คอยถวายอุปัฏฐาก ช้างเป็นผู้คอยถวายน้ำฉันน้ำใช้ ลิงคอยหาผลไม้มาถวาย และเอาน้ำผึ้งรวงมาถวายด้วย ชาวไทยเราจึงถือเป็นประเพณีว่าควรมีการตักบาตรน้ำผึ้งถวายในโอกาสนี้ เพราะยังอยู่ในฤดูจำพรรษาของพระสงฆ์ 
การทอดกฐิน 

การทอดกฐิน เป็นประเพณีที่สำคัญของพุทธศาสนิกชนอย่างหนึ่ง นิยมทำกันตั้งแต่วันแรมค่ำเดือนสิบเอ็ด ไปจนถึงกลางเดือนสิบสอง คำว่ากฐิน แปลว่ากรอบไม้หรือสะดึง สำหรับใช้ขึงผ้าเย็บจีวรของพระภิกษุ การทอดกฐินคือ การนำผ้ากฐินไปวางไว้ต่อหน้าพระสงฆ์อย่างต่ำห้ารูป แล้วให้พระสงฆ์รูปใดรูปหนึ่งที่ได้รับมอบหมาย จากคณะสงฆ์ทั้งนั้นเป็นเอกฉันท์ให้เป็นผู้รับกฐินนั้น 
การที่มีประเพณีทอดกฐินมีเรื่องว่า ในครั้งพุทธกาล พระภิกษุชาวปาไถยรัฐ (ปาวา) ผู้ทรงธุดงค์ จำนวน ๓๐ รูป เดินทางไกลไปไม่ทันเข้าพรรษา เหลือทางอีกหกโยชน์จะถึงนครสาวัตถี จึงตกลงพักจำพรรษาที่เมืองสาเกตตลอดไตรมาส เมื่อออกพรรษาจึงเดินทางไปเฝ้าพระบรมศาสดา ณ เชตวันมหาวิหารนครสาวัตถี ภิกษุเหล่านั้นมีจีวรเก่า เปื้อนโคลน และเปียกชุ่มด้วยน้ำฝน ได้รับความลำบากตรากตรำมาก พระพุทธเจ้าจึงทรงถือเป็นมูลเหตุ ทรงมีพุทธานุญาตให้ภิกษุที่จำพรรษาครบสามเดือนกรานกฐินได้ และให้ได้รับอานิสงส์ ห้าประการคือ 
๑) เที่ยวไปไหนไม่ต้องบอกลา 
๒) ไม่ต้องถือไตรจีวรไปครบ 
๓) ฉันคณะโภชน์ได้ 
๔) ทรงอติเรกจีวรได้ตามปรารถนา 
๕) จีวรอันเกิดขึ้นนั้นจะได้แก่พวกเธอ และได้ขยายเขตอานิสงส์ห้าอีกสี่เดือน นับแต่กรานกฐินแล้วจนถึงวันกฐินเดาะเรียกว่า มาติกาแปด คือการกำหนดวันสิ้นสุดที่จะได้จีวร คือ 
กำหนดด้วยหลีกไป กำหนดด้วยทำจีวรเสร็จ กำหนดด้วยตกลงใจ กำหนดด้วยผ้าเสียหาย กำหนดด้วยได้ยินข่าว กำหนดด้วยสิ้นหวัง กำหนดด้วยล่วงเขต กำหนดด้วยเดาะพร้อมกัน 
ฉะนั้น เมื่อครบวันกำหนดกฐินเดาะแล้ว ภิกษุก็หมดสิทธิ์ต้องรักษาวินัยต่อไป พระสงฆ์จึงรับผ้ากฐินหลังออกพรรษาไปแล้ว หนึ่งเดือนได้ จึงได้ถือเป็นประเพณีปฏิบัติสืบต่อกันมาจนทุกวันนี้ 
การทอดกฐินในปัจจุบัน ถือว่าเป็นทานพิเศษ กำหนดเวลาปีหนึ่งทอดถวายได้เพียงครั้งเดียว ตามอรรถกถาฎีกาต่าง ๆ พอกำหนดได้ว่าชนิดของกฐินมีสองลักษณะ คือ 
จุลกฐิน การทำจีวร พระพุทธเจ้าทรงบัญญัติสิกขาบท ทุกฝ่ายต้องช่วยกันทำให้เสร็จภายในกำหนดหนึ่งวัน ทำฝ้าย ปั่น กรอ ตัด เย็บ ย้อม ทำให้เป็นขันธ์ได้ขนาดตามพระวินัย แล้วทอดถวายให้เสร็จในวันนั้น 
มหากฐิน คืออาศัยปัจจัยไทยทานบริวารเครื่องกฐินจำนวนมากไม่รีบด่วน เพื่อจะได้มีส่วนหนึ่งเป็นทุนบำรุงวัด คือทำนวกรรมบ้าง ซ่อมแซมบูรณของเก่าบ้าง ปัจจุบันนิยมเรียกกันว่า กฐินสามัคคี 
การทอดกฐินในเมืองไทย แบ่งออกตามประเภทของวัดที่จะไปทอด คือพระอารามหลวง ผ้าพระกฐินที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปพระราชทานด้วยพระองค์เอง หรือโปรดเกล้า ฯ ให้พระบรมวงศานุวงศ์ผู้ใหญ่ไปพระราชทาน เครื่องกฐินทานนี้จัดด้วยพระราชทรัพย์ของพระองค์เอง เรียกว่า กฐินหลวง บางทีก็เสด็จไปพระราชทานยังวัดราษฎร์ด้วย นิยมเรียกว่า กฐินต้น ผ้ากฐินทานนอกจากที่ได้รับกฐินของหลวงโดยตรงแล้ว พระอารามหลวงอื่น ๆ จะได้รับ กฐินพระราชทาน ซึ่งโปรดเกล้า ฯ พระราชทานผ้ากฐินทาน และเครื่องกฐินแก่พระบรมวงศานุวงศ์ ข้าราชบริพาร ส่วนราชการ หรือเอกชนให้ไปทอด โดยรัฐบาลโดยกรมศาสนาจัดผ้าพระกฐินทาน และเครื่องกฐินถวายไป ผู้ได้รับพระราชทานอาจจะถวายจตุปัจจัย หรือเงินทำบุญที่วัดนั้นโดยเสด็จในกฐินพระราชทานได้ 
ส่วนวัดราษฎร์ทั่วไป คณะบุคคลจะไปทอดโดยการจองล่วงหน้าไว้ก่อนตั้งแต่ในพรรษา ก่อนจะเข้าเทศกาลกฐินถ้าวัดใดไม่มีผู้จอง เมื่อใกล้เทศกาลกฐิน ประชาชนทายกทายิกาของวัดนั้น ก็จะรวบรวมกันจัดการทอดกฐิน ณ วัดนั้นในเทศกาลกฐิน 
การจองกฐิน วัดราษฎร์ทั่วไป นิยมทำเป็นหนังสือจองกฐินไปติดต่อประกาศไว้ยังวัดที่จะทอดถวาย เป็นการเผดียงสงฆ์ให้ทราบวันเวลาที่จะไปทอด หรือจะไปนมัสการเจ้าอาวาสให้ทราบไว้ก็ได้ สำหรับการขอพระราชทานผ้าพระกฐินไปทอด ณ พระอารามหลวงให้แจ้งกรมการศาสนา เพื่อขึ้นบัญชีไว้กราบบังคมทูลและแจ้งให้วัดทราบ ในทางปฏิบัติผู้ขอพระราชทานจะไปติดต่อกับทางวัดในรายละเอียดต่าง ๆ จนก่อนถึงวันกำหนดวันทอด จึงมารับผ้าพระกฐิน และเครื่องกฐินพระราชทานจากกรมศาสนา 
การนำกฐินไปทอด ทำได้สองอย่าง อย่างหนึ่งคือนำผ้ากฐินทานกับเครื่องบริวารที่จะถวายไปตั้งไว้ ณ วัดที่จะทอดก่อน พอถึงวันกำหนดเจ้าภาพผู้เป็นเจ้าของกฐิน หรือรับพระราชทานผ้ากฐินทานมาจึงพากันไปยังวัดเพื่อทำพิธีถวาย อีกอย่างหนึ่ง ตามคติที่ถือว่าการทอดกฐินเป็นการถวายทานพิเศษแก่พระสงฆ์ที่ได้จำพรรษาครบไตรมาส นับว่าได้กุศลแรง จึงได้มีการฉลองกฐินก่อนนำไปวัดเป็นงานใหญ่ มีการทำบุญเลี้ยงพระที่บ้านของผู้เป็นเจ้าของกฐิน และเลี้ยงผู้คน มีมหรสพสมโภช และบางงานอาจมีการรวบรวมปัจจัยไปวัดถวายพระอีกด้วยเช่น ในกรณีกฐินสามัคคี พอถึงกำหนดวันทอดก็จะมีการแห่แหนเป็นกระบวนไปยังวัดที่จะทอด มีเครื่องบรรเลงมีการฟ้อนรำนำขบวนตามประเพณีนิยม 
การถวายกฐิน นิยมถวายในโบสถ์ โดยเฉพาะกฐินพระราชทาน ก่อนจะถึงกำหนดเวลาจะเอาเครื่องบริวารกฐินไปจัดตั้งไว้ในโบสถ์ก่อน ส่วนผ้ากฐินพระราชทานจะยังไม่นำเข้าไป พอถึงกำหนดเวลาพระสงฆ์ที่จะรับกฐิน จะลงโบสถ์พร้อมกัน นั่งบนอาสนที่จัดไว้ เจ้าภาพของกฐิน พร้อมด้วยผู้ร่วมงานจะพากันไปยังโบสถ์ เมื่อถึงหน้าโบสถ์เจ้าหน้าที่จะนำผ้าพระกฐินไปรอส่งให้ประธาน ประธานรับผ้าพระกฐินวางบนมือถือประคอง นำคณะเดินเข้าสู่โบสถ์ แล้วนำผ้าพระกฐินไปวางบนพานที่จัดไว้หน้าพระสงฆ์ และหน้าพระประธานในโบสถ์ คณะที่ตามมาเข้านั่งที่ ประธานจุดธูปเทียนบูชาพระรัตนตรัย แล้วกราบพระพุทธรูปประธานในโบสถ์แบบเบญจางคประดิษฐ์สามครั้ง แล้วลุกมายกผ้าพระกฐินในพานขึ้น ดึงผ้าห่มพระประธานมอบให้เจ้าหน้าที่ รับไปห่มพระประธานทีหลัง แล้วประนมมือวางผ้าพระกฐินบนมือทั้งสอง หันหน้าตรงพระสงฆ์แล้วกล่าวคำถวายผ้าพระกฐิน จบแล้วพระสงฆ์รับ สาธุการ ประธานวางผ้าพระกฐินลงบนพานเช่นเดิม แล้วกลับเข้านั่งที่ ต่อจากนี้ไปเป็นพิธีกรานกฐินของพระสงฆ์ 
กฐินของประชาชน หรือ กฐินสามัคคี หรือในวัดบางวัดนิยมถวายกันที่ศาลาการเปรียญ หรือวิหารสำหรับทำบุญ แล้วเจ้าหน้าที่จึงนำผ้ากฐินที่ถวายแล้วไปถวายพระสงฆ์ ทำพิธีกรานกฐินในโบสถ์เฉพาะพระสงฆ์อีกทีหนึ่ง 
การทำพิธีกฐินัตการกิจของพระสงฆ์ เริ่มจากการกล่าวคำขอความเห็นที่เรียกว่า อปโลกน์ และการสวดญัตติทุติยกรรม คือการยินยอมยกให้ ต่อจากนั้นพระสงฆ์รูปที่ได้รับความยินยอม นำผ้าไตรไปครองเสร็จแล้วขึ้นนั่งยังอาสนเดิม ประชาชนผู้ถวายพระกฐินทาน ทายกทายิกา และผู้ร่วมบำเพ็ญกุศล ณ ที่นั้น เข้าประเคนสิ่งของอันเป็นบริวารขององค์กฐินตามลำดับจนเสร็จแล้ว พระสงฆ์ทั้งนั้นจับพัด ประธานสงฆ์เริ่มสวดนำด้วยคาถาอนุโมทนา ประธานหรือเจ้าภาพ กรวดน้ำ และรับพรจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
คำถวายกฐิน มีอยู่สองแบบด้วยกันคือ แบบเก่า และแบบใหม่ ดังนี้ 
คำถวายแบบเก่า อิมํ สปริวารํ กฐินจีวรทสฺสํ สงฺฆสฺส โอโณชยาม (กล่าวสามหน) 
ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าจีวรกฐิน พร้อมกับของบริวารนี้แก่พระสงฆ์ (กล่าวสามหน) 
คำกล่าวแบบใหม่ อิมํ มยํ ภนฺเต สปริวารํ กฐินจีวรทสฺสํ สงฺฆสฺส โอโณชยาม สาธุ โน ภนฺเต สงฺโฆ อิมํ 
ปริวารํ กฐินจีวรทุสฺสํ ปฏิคฺคณฺหาตุ ปฏิคฺคเหตฺวา จ อิมินา ทุสฺเสน กฐินํ อตฺถรตุ อมฺหากํ ฑีฆรตฺตํ หิตาย สุขาย 
ข้าแต่พระสงฆ์ผู้เจริญ ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอน้อมถวายผ้าจีวรกฐิน กับของบริวารนี้แก่พระสงฆ์ ขอพระสงฆ์จงรับผ้ากฐิน พร้อมกับของบริวารของข้าพเจ้าทั้งหลาย ครั้งรับแล้วจงกราลกฐินด้วยผ้าผืนนี้ เพื่อประโยชน์ และความสุขแก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย ตลอดกาลนาน เทอญ ฯ 
งานลอยกระทงตามประทีป 

การลอยกระทงตามประทีป ถือเป็นประเพณีมาแต่โบราณว่า เพื่อบูชารอยพระพุทธบาท ซึ่งประดิษฐานอยู่ที่ฝั่งแม่น้ำนัมมทาในชมพูทวีป โดยคติตามเรื่องที่กล่าวไว้ในอรรถกถาปุณโณวาทสูตรว่า 
สมัยหนึ่ง พระบรมศาสดาได้เสด็จไปยังแม่น้ำนัมมทานที พญานัมมทานาคราช อาราธนาให้เสด็จไปสู่นาคพิภพด้วยศรัทธาเลื่อมใส เพื่อจะถวายสักการบูชา พระองค์จึงเสด็จไปตรัสเทศนาแก่พญานาคราชพร้อมทั้งบริวารแล้วเสด็จกลับ พญานาคราชได้กราบทูลขอสิ่งที่ระลึกอย่างใดอย่างหนึ่งไว้ เพื่อเป็นอนุสาวรีย์ที่กราบไหว้บูชาในกาลต่อไป พระผู้มีพระภาคจึงประทานให้ตามความประสงค์โดยประดิษฐาน รอยพระพุทธบาทไว้ที่ริมฝั่งแม่น้ำนัมมทานทีนั้น ให้เป็นที่สักการบูชาของพญานาคราชสืบต่อไป 
ด้วยความเป็นมาดังกล่าว จึงได้เกิดมีประเพณีลอยกระทงตามประทีปขึ้นในหมู่พุทธศาสนิกชน เพื่อบูชารอยพระพุทธบาทดังกล่าวนั้น ประเพณีนี้มีมาแต่ครั้งกรุงสุโขทัยเป็นราชธานี และนิยมทำกันเป็นประเพณีในวันเพ็ญเดือนสิบสอง ซึ่งเป็นฤดูน้ำเหนือลด ดังปรากฏในหนังสือตำรับท้าวศรีจุฬาลักษณ์ พระสนมเอกของพระมหาธรรมราชาลิไทย และเป็นธิดาพระศรีมโหสถ ได้เรียบเรียงเป็นเรื่องเกี่ยวด้วยพระราชพิธีสิบสองเดือน ในราชสำนัก มีความตอนหนึ่งว่า 
เมื่อถึงวันเพ็ญเดือนสิบสอง พระร่วงเจ้ารับสั่งให้บรรดาพระสนมนางในเถ้าแก่ชะแม่ท้าวนางทั้งหลาย ตกแต่งกระทงประดับดอกไม้ธูปเทียนนำลงลอยน้ำ หน้าพระที่นั่งตามประเพณีของกษัตริย์โบราณที่มีมา ตัวท้าวศรีจุฬาลักษณ์ ซึ่งขณะนั้นมีชื่อว่า นางเรวดีนพมาศ ก่อนถวายตัวเข้ามาอยู่ในพระราชวังคิดเห็นว่า ในวันเพ็ญเดือนสิบสองตามปกติย่อมมีบัวสายชนิดหนึ่งบานในเวลากลางคืน ผิดกว่าบัวสายอื่น ๆ ที่ดอกบานเวลากลางวัน ดอกบัวดังกล่าวนี้เรียกว่า ดอกกมุท เป็นดอกบัวพิเศษปีหนึ่งมีดอกบานครั้งเดียวในวันนี้เท่านั้น จึงเห็นสมควรว่ากระทงที่จะแต่งประทีปลอยบูชาพระพุทธบาท ให้เข้ากับพิธีพราหมณ์โบราณ และตกแต่งเป็นเครื่องสักการะด้วยดอกไม้ที่มีในสมัย จึงได้จัดเย็บกระทงเป็นรูปดอกกมุท แต่ละกลีบติดประทีปน้ำมันเปรียวพระโคนำ ลงลอยหน้าพระที่นั่ง เป็นที่สะดุดตาคนทั่วไป 
พระร่วงจึงรับสั่งถามความหมายนางก็ทูลอธิบายเหตุผลได้จนเป็นที่พอพระราชหฤทัย จึงได้รับสั่งในที่ประชุมวันนั้นว่า ต่อไปเบื้องหน้าขอให้ทุกคนเอาอย่างนางเรวดีนพมาศนี้ จงแต่งกระทงประทีปลอยในวันเพ็ญเดือนสิบสองให้เป็นรูปดอกกมุทสืบไป 
การลอยกระทงตามประทีป ที่ราษฎรนิยมทำกันเป็นประเพณีในปัจจุบันคือ ถ้าเป็นพิธีที่ร่วมกันทำเป็นหมู่คณะเช่นที่ ทำกันทางภาคเหนือ วัดทั้งหลายเป็นหัวหน้านำศรัทธาวัดของตน จัดทำกระทงใหญ่เป็นประธานของวัดขึ้น กระทงหนึ่งตกแต่งประกวดกัน เมื่อถึงวันเพ็ญเดือนสิบสอง ตั้งแต่เวลาย่ำค่ำเป็นต้นไป แต่ละวัดจะแห่กระทงประธานของวัดตนไปสู่ท่าน้ำตามที่นัดหมายเป็นที่สนุกสนาน มีกระทงอื่น ๆ ของศรัทธาแห่เข้าขบวนตามกันไปแล้วไปตั้งประกวดกันที่ท่าน้ำ เมื่อได้เวลาสมควรก็ร่วมกันบูชากระทงของตนแล้วนำไปลอยในแม่น้ำ ให้กระทงลอยไปตามกระแสน้ำ เมื่อลอยหมดทุกวัดและทุกหมู่คณะแล้วก็เป็นอันเสร็จพิธี 
สำหรับพิธีในภาคอื่น มักทำกันเป็นบุคคล ระเบียบพิธีจึงง่าย เป็นเรื่องเฉพาะตัว ผู้ลอยกระทงจะเตรียมกระทงแล้วนำไปที่ท่าน้ำ จุดเทียนในกระทง แล้วกล่าวคำบูชา จบแล้วลอยกระทงตามประทีปนั้นลงในน้ำเป็นอันเสร็จพิธี 
คำถวายกระทงสำหรับลอยประทีป 
มยํ อิมินา ปทีเปน, อสุกาย, นมฺมทาย, นทิยา, ปุลิเน ฐิตํ, มุนิโน, ปาทวลญฺชํ, อภิปูเชม, อยํ, ปทีเปน, มุนิโน ปาทวลญฺชสฺส, ปูชา, อมฺหากํ, ฑีฆรตฺตํ, หิตาย, สุขาย, สํวตฺตตุ 
ข้าพเจ้าทั้งหลาย ขอบูชารอยพระพุทธบาทที่ตั้งอยู่เหนือหาดทราย ในแม่น้ำชื่อนัมมทานที ด้วยประทีปนี้ กิริยาที่บูชารอยพระพุทธบาทด้วยประทีปนี้ ขอจงเป็นไปเพื่อประโยชน์และความสุข แก่ข้าพเจ้าทั้งหลาย สิ้นกาลนาน เทอญ ฯ 
งานวันขึ้นปีใหม่ 
งานวันขึ้นปีใหม่ เป็นวันเทศกาลที่ประชาชนมีประเพณีทำบุญ และมีงานรื่นเริงต่าง ๆ ได้แก่มหรสพ หรือการละเล่นพื้นเมือง รวมทั้งการเที่ยวเตร่หาความสนุกสนาน เป็นการเฉลิมฉลองการขึ้นปีใหม่ เพื่อความสุข และความมีศิริมงคล งานวันปีใหม่นิยมมีงานสองวันติดต่อกัน คือวันสิ้นปีเก่า และวันขึ้นปีใหม่ 
ประเทศไทยได้กำหนดเอาวันที่ ๑ เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่มาตั้งแต่ ปี พ.ศ.๒๔๓๒ และได้เปลี่ยนมาเป็นวันที่ ๑ มกราคม ตามแบบสากล เมื่อปี พ.ศ.๒๔๘๔ 
สมัยเมื่อใช้วันที่ ๑ เมษายน เป็นวันขึ้นปีใหม่ มีการจัดงานพระราชพิธีส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ต่อเนื่องกันเป็นพระราชพิธีตรุษ และพระราชพิธีเถลิงศกสงกรานต์ เริ่มต้นงานตั้งแต่วันที่ ๒๘ มีนาคม ไปสิ้นสุดในวันที่ ๒ เมษายน ในระหว่างนี้มีงานบำเพ็ญพระราชกุศล และงานพระราชพิธีอื่นแทรกหลายอย่าง ปัจจุบันเมื่อเปลี่ยนเป็นวันที่ ๑ มกราคมเป็นวันขึ้นปีใหม่งานพระราชพิธีอย่างเก่าจึงเปลี่ยนแปลงไป และยกเลิกไปก็มีมีการแยกงานพระราชพิธีตรุษ และพระราชพิธีเถลิงศก สงกรานต์เป็นสองงานคือ พระราชพิธีขึ้นปีใหม่งานหนึ่ง และพระราชพิธีสงกรานต์อีกงานหนึ่ง 
พระราชพิธีขึ้นปีใหม่ คงจัดให้มีแต่การพระราชกุศลทรงบาตร เรียกว่า พระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทรงบาตรวันขึ้นปีใหม่ กำหนดทรงบาตรในตอนเช้าวันขึ้นปีใหม่ ต่อมาเห็นว่าไม่สดวกทั้งฝ่ายสงฆ์และฝ่ายฆราวาส เพราะในวันขึ้นปีใหม่ได้มีงานบำเพ็ญกุศล ฉลองวันขึ้นปีใหม่กันทั่วไป ทั้งทางราชการ และประชาชน จึงได้โปรดเกล้า ฯ ให้กำหนดเป็นวันที่ ๓๑ ธันวาคม ของปีเก่าแทน 
สมัยก่อนพระสงฆ์ที่นิมนต์มารับบิณฑบาตในพระบรมมหาราชวังต้องใช้บาตรมีถลกสพาย พร้อมกับถือย่าม สำหรับผลไม้และของหวาน ปัจจุบันใช้อุ้มบาตรอย่างบิณฑบาตธรรมดา แต่ถือย่ามด้วย งานพระราชพิธีทรงบาตรวันขึ้นปีใหม่ บางปีก็นิมนต์พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ตามวัดต่าง ๆ มีจำนวน ๕๒๕ รูปบ้าง ๕๐๐ รูปบ้าง แบ่งออกเป็นสาย ๆ ละ ๒๕ รูป เว้นแต่สายที่เข้ารับพระราชทานจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว สายนี้นิมนต์พระสงฆ์ ๕๐ รูป มีสมเด็จพระราชาคณะ หรือพระราชาคณะผู้ใหญ่เป็นหัวหน้าสายนำเข้ารับ ผู้ที่เตรียมของมาใส่บาตรจึงเตรียมมาให้พอดีกับ จำนวนพระ ๒๕ รูป เมื่อพระสงฆ์รับบิณฑบาตหมดเรียบร้อยแล้ว ทุกสายแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว จะเสด็จพระราชดำเนินไปทรงทักทายปราศรัยกับท่านที่มาตั้งบาตร ได้เวลาอันสมควรแล้วจึงเสด็จขึ้น 
สำหรับงานของทางราชการ และประชาชนในวันขึ้นปีใหม่ จะมีตั้งแต่คืนวันที่ ๓๑ ธันวาคม จนถึงวันที่ ๑ มกราคม คือในวันสิ้นปีทางราชการ หรือประชาชนในท้องถิ่นต่าง ๆ จะจัดให้มีการรื่นเริงและมหรสพจนเที่ยงคืน มีการเชิญบุคคลสำคัญของบ้านเมืองเช่น ประธานรัฐสภา นายกรัฐมนตรี ประธานศาลฎีกา กล่าวคำปราศรัยทางสื่อมวลชนต่าง ๆ และในตอนสุดท้ายก่อนถึงเวลา ๒๔.๐๐ น. ก็จะมีพระราชดำรัส พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวพระราชทานพรปีใหม่แก่ประชาชน สมเด็จพระสังฆราชประทานพรปีใหม่แก่พุทธศาสนิกชน 
เมื่อถึงเวลา ๒๔.๐๐ น. วัดวาอารามต่าง ๆ จะจัดพระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา ย่ำฆ้องกลองประโคม โดยทั่วกัน 
ตอนเช้า ๑ มกราคม จะมีการทำบุญตักบาตรที่วัดหรือที่ใด ๆ สุดแต่จะพอใจ 
ศาสนพิธีในงานของทางราชการ 
งานวันจักรี 

วันจักรีตรงกับวันที่ ๖ เมษายนของทุกปี ทางราชการประกาศเป็นวันที่ระลึกจักรี หยุดราชการหนึ่งวัน วันนี้เป็นวันที่พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช 
องค์พระปฐมกษัตริย์แห่ง พระบรมราชจักรีวงศ์ เสด็จขึ้นครองราชย์สมบัติกรุงรัตนโกสินทร์ 
ทางราชการจัดให้มีงานเป็นรัฐพิธี แต่ไม่มีพิธีทางศาสนา คงมีแต่พิธีถวายสักการบูชา พระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ที่เชิงสะพานปฐมราชานุสรณ์ (สะพานพุทธยอดฟ้า) และเปิดปราสาทพระเทพบิดรในพระบรมมหาราชวังให้ข้าราชการ และประชาชนทั่วไป ไปถวายสักการะบูชา พระบรมรูปอดีตพระมหากษัตริย์แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว เสด็จพระราชดำเนินไปทรงวางพวงมาลาที่พระบรมราชานุสรณ์ ทรงจุดธูปเทียนถวายสักการะบูชา แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับ 
วันนี้มีการชักและประดับธงชาติตามสถานที่ราชการ และอาคารบ้านเรือนราษฎร เป็นการเฉลิมฉลองและระลึกถึงวันแรกประดิษฐานพระราชวงศ์จักรี 
งานวันฉัตรมงคล 

เป็นวันคล้ายวันที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จเถลิงถวัลยราชสมบัติ โดยประกอบการพระราชพิธีบรมราชาภิเษกตามโบราณขัติยราชประเพณี ปัจจุบันตรงกับวันที่ ๕ พฤษภาคม 
งานวันฉัตรมงคล เป็นงานพระราชพิธี เรียกว่า พระราชพิธีฉัตรมงคล เป็นงานเฉลิมสมโภชในวันบรมราชาภิเษก โดยจัดให้มีการพระราชกุศลทักษิณานุปทาน ในวันที่ ๓ พฤภาคม ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย ในพระบรมมหาราชวัง เจ้าพนักงานเชิญโกศพระบรมอัฐิสมเด็จพระบรมราชบูรพการี ขึ้นประดิษฐานเหนือพระราชบัลลังก์ ภายใต้นพปดลมหาเศวตฉัตร และเชิญพระพุทธรูปประจำพระชนวารคู่พระบรมอัฐิประดิษฐานในพระที่นั่งบุษบกมาลา ประกอบด้วยเครื่องบรมอิสริยราชูปโภค พร้อมสรรพ ตอนบ่ายเมื่อได้เวลาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเข้าสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการแล้ว ทั้งสองพระองค์ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะ กราบบังคมพระบรมอัฐิ พระสงฆ์ ๒๒ รูป สวดพระพุทธมนต์ จบแล้ว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทรงธรรม พระราชาคณะถวายพระธรรมเทศนากัณฑ์หนึ่งจบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรมกัณฑ์เทศน์ แล้วทรงทอดผ้า พระสงฆ์ทั้งนั้นสดับปกรณ์พระบรมอัฐิ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา งานวันนี้แต่งเครื่องแบบครึ่งยศ 
วันที่ ๔ พฤษภาคม เจ้าพนักงานเตรียมการพระราชพิธีฉัตรมงคล ณ พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท เชิญพระพุทธปฏิมาชัยวัฒน์ ประดิษฐานที่ม้าหมู่พระแท่นมุก และเชิญเครื่องสิริราชกกุธภัณฑ์ขึ้นประดิษฐาน ณ พระแท่นนพปดลมหาเศวตรฉัตร ตอนบ่ายเมื่อได้เวลาพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเข้าสู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องสักการแล้วสมเด็จพระราชาคณะถวายศีล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดเทียนเครื่องทองน้อยบูชาราชกกุธภัณฑ์ พระครูสตานันทมุนี หัวหน้าพราหมณ์ อ่านประกาศพระราชพิธีฉัตรมงคลแล้ว พระสงฆ์ ๒๐ รูป เจริญพระพุทธมนต์ จบแล้วถวายอดิเรก ถวายพระพรลา เสด็จพระราชดำเนินกลับ งานวันนี้แต่งเครื่องแบบครึ่งยศ 
วันที่ ๕ พฤษภาคม ตอนเช้า พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินเข้าสู่พระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ สมเด็จพระราชาคณะถวายศีล พระสงฆ์ ๒๐ รูปถวายพรพระ จบแล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประเคนภัตตาหาร พระสงฆ์รับพระราชทานฉันเสร็จแล้ว ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์อนุโมทนา ถวายอดิเรก ถวายพระพรลา พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องทองน้อยบูชาราชกกุธภัณฑ์ พราหมณ์เบิกแว่นเวียนเทียนสมโภชนพปฎลมหาเศวตฉัตรสิริราชกกุธภัณฑ์ พนักงานประโคมฆ้องชัย สังข์ แตร บัณเฑาะว์ และดุริยางค์แล้ว พราหมณ์เจิมนพปฏลมหาเศวตฉัตร โหรผูกผ้าสีชมพู พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระสุหร่ายเครื่องราชกกุธภัณฑ์ แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับ งานตอนนี้แต่งเครื่องแบบปกติขาวประดับเหรียญ 
เวลา ๑๒ นาฬิกา ทหารบก ทหารเรือ ยิงปืนใหญ่เฉลิมพระเกียรติ ฝ่ายละ ๒๑ นัด 
ตอนบ่าย เวลาประมาณ ๑๖ นาฬิกา ๓๐ นาที พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จออกพระที่นั่งดุสิตมหาปราสาท พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ประทับพระราชบัลลังก์ หน้าพระแท่นนพปฏลมหาเศวตฉัตร เจ้าพนักงานชูพุ่มดอกไม้ทองเป็นสัญญาณ ชาวประโคมกระทั่งแตรมโหรทึก ทหารกองเกียรติยศถวายความเคารพ แตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี เมื่อสุดเสียงประโคมแล้ว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ พระราชทานอิสริยาภรณ์จุลจอมเกล้า ฯ แก่พระราชวงศ์ และข้าทูลละอองธุลีพระบาท แล้วเสด็จขึ้น เจ้าพนักงานได้สัญญาณชาวประโคมกระทั่งแตรมโหรทึก ทหารกองเกียรติยศถวายความเคารพ แตรวงบรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง ไปเทียบยังประตูเกยหลังวัดพระศรีรัตนศาสดาราม เสด็จพระราชดำเนินเข้าสู่พระอุโบสถ ทรงจุดธูปเทียนถวายนมัสการพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร และพระพุทธรูปฉลองพระองค์ แล้วเสด็จพระราชดำเนินไปยังปราสาทพระเทพบิดร ทรงจุดธูปเทียนเครื่องราชสักการะ ถวายบังคมสมเด็จพระบูรพมหากษัตริยาธิราช แล้วเสด็จพระราชดำเนินไปประทับรถยนต์พระที่นั่งที่ประตู เกยหน้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม แล้วเสด็จพระราชดำเนินกลับ วันนี้แต่งกายเต็มยศสวมสร้อยจุลจอมเกล้า 
ทางราชการกำหนดเป็นวันหยุดราชการหนึ่งวัน มีการชักธง และประดับธงชาติตามสถานที่ราชการและอาคารบ้านเรือน เป็นการเฉลิมฉลอง 
งานวันพืชมงคล 

งานวันพืชมงคล แต่เดิมเป็นงานสองงานติดต่อกัน คืองานพิธีพืชมงคล และพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ พิธีพืชมงคลเป็นพิธีของสงฆ์ คือเอาข้าวเปลือก ถั่ว งา และพืชพันธุ์ธัญญาหารต่าง ๆ มาเข้ารวมไว้ในพิธี พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ในตอนเย็นที่ท้องสนามหลวง รุ่งขึ้นเช้าวันแรกนาขวัญ พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ แล้วรับพระราชทานฉัน ส่วนงานพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญเป็นพิธีพราหมณ์ 
เมื่อปี พ.ศ.๒๔๗๕ ภายหลังเปลี่ยนแปลงการปกครอง พิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญถูกยกเลิกไป คงเหลือแต่พิธีพืชมงคล และเรียกงานนี้ว่างานรัฐพิธีพืชมงคล ไม่ได้กำหนดวันไว้แน่นอนเหมือนรัฐพิธีอื่น แต่ตกอยู่ในเกณฑ์ต้นเดือนหก โหรหลวงจะเป็นผู้หาฤกษ์ว่าในเดือนนั้นวันใดจะเป็นฤกษ์พืชมงคล 
ต่อมาในปี พ.ศ.๒๕๐๓ รัฐบาลได้ฟื้นฟูให้มีพิธีจรดพระนังคัลแรกนาขวัญขึ้นเช่นแต่ก่อน จึงจัดเป็นงานสองวัน วันแรกเป็นพิธีพืชมงคล สวดมนต์ที่วัดพระศรีรัตนศาสดาราม รุ่งขึ้นเป็นวันประกอบพิธีพราหมณ์ จรดพระนังคัลแรกนาขวัญที่ท้องสนามหลวง พระยาแรกนาให้อธิบดีกรมการข้าวเป็นพระยาแรกนา ต่อมาเมื่อยุบกรมการข้าวแล้ว ให้ปลัดกระทรวงเกษตร ฯ เป็นพระยาแรกนา 
ต่อมาได้โปรดเกล้า ฯ ให้รับงานรัฐพิธีพืชมงคล เป็นงานพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ มีงานสองวันดังนี้ 
วันแรก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินขึ้นสู่พระอุโบสถ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม ทรงจุดธูปเทียนกราบนมัสการพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร และพระพุทธรูปสำคัญ พระราชาคณะถวายศีล จบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงสุหร่าย ถวายดอกไม้บูชาพระพุทธคันธารราษฎร์ ทรงอธิษฐานเพื่อความสมบูรณ์แห่งพืชผลของราชอาณาจักรไทยแล้ว พระครูสตานันทมุนีหัวหน้าพราหมณ์ อ่านประกาศพระราชพิธีพืชมงคล พระสงฆ์ ๑๑ รูป เจริญพระพุทธมนต์จบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงหลั่งน้ำสังข์ ทรงเจิมพระราชทานธำรงค์กับพระแสงปฏัก สำหรับพระยาแรกนาขวัญแล้วทรงหลั่งน้ำสังข์ ทรงเจิมพระราชทานเทพีผู้จะเข้าในการพระราชพิธี ฯ พระสงฆ์เจริญชัยมงคลคาถา พนักงานประโคมฆ้องชัยเครื่องดุริยางค์แล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม พระสงฆ์ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก ออกจากพระอุโบสถ เสด็จพระราชดำเนินกลับ วันนี้แต่งกายเครื่องแบบครึ่งยศ 
วันที่สอง เวลาประมาณ ๗ นาฬิกา ๓๐ นาที (ตามฤกษ์) โปรดเกล้า ฯ ให้พระยาแรกนา ขึ้นรถยนต์หลวงที่หน้าวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ไปยังพิธีมณฑลท้องสนามหลวง แล้วเดินขบวนอิสริยยศแห่ไปส่งที่โรงพิธีพราหมณ์ จุดธูปเทียน สักการะเทวรูปสำคัญ แล้วตั้งสัตยาอธิษฐานหยิบผ้านุ่งแต่งกายไว้พร้อม 
เวลา ๘ นาฬิกา ๓๐ นาที พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินโดยรถยนต์พระที่นั่ง จากพระตำหนักจิตรลดา ฯ ไปยังพลับพลาท้องสนามหลวง พระยาแรกนาจะได้ยาตราพร้อมเทพี ออกจากโรงพิธีพราหมณ์ มีราชบัณฑิต และพราหมณ์นำผ่านพลับพลาพระที่นั่ง พระยาแรกนาเข้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายบังคม แล้วไปยังลานแรกนา เจ้าพนักงานจูงโคเทียมแอก พระยาแรกนาเจิมโค และไถ แล้วจึงไถดะไปโดยรีสามรอบ โดยขวางสามรอบ หว่านธัญพืช โหรลั่นฆ้องชัย แล้วไถกลบอีกสามรอบ พนักงานปลดโคออกจากแอก พระยาแรกนา และเทพีกลับไปยังโรงพิธีพราหมณ์ พราหมณ์เสี่ยงของกินเจ็ดสิ่งตั้งเลี้ยงพระโค โหรหลวงจะได้ถวายคำพยากรณ์ เสร็จแล้วจะได้แห่พระยาแรกนา เป็นกระบวนอิสริยยศออกจากโรงพิธีพราหมณ์ พระยาแรกนาเข้าเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท ถวายบังคมแล้ว เข้ากระบวนไปขึ้นรถยนต์หลวงกลับไปกระทรวงเกษตร 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินกลับ 
วันนี้ แต่งกายเครื่องแบบปกติขาว ทางราชการกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการหนึ่งวัน 
วันเฉลิมพระชนมพรรษา 

งานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา มีทั้งพิธีสงฆ์ และพิธีพราหมณ์ พิธีโหรและสวดนพเคราะห์ 
เจ้าหน้าที่กรมการศาสนา จะวงสายสิญจน์ รอบพระที่นั่ง อมรินทรวินิจฉัยโยงเข้าไปในพิธีมณฑล รอบพระแท่นพระมหาเศวตฉัตร โยงไปรอบโต๊ะบูชาพระพุทธรูปไชยวัฒน์ เทวรูปนพเคราะห์ เทียนมหามงคล เทียนเท่าพระองค์ แล้วโยงไปที่อาสนสงฆ์ อีกสายหนึ่งโยงจากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย เข้าสู่พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม วงรอบฐานองค์พระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร โยงมาที่โต๊ะบูชา และโต๊ะบูชาเทวดาพระเคราะห์ แล้วโยงไปที่อาสนสงฆ์สวดนวัคคหายุสมธัมม์ สำหรับพระสงฆ์คือสวดนพเคราะห์ และโหรคือสวดบูชาเทพยดานพเคราะห์ 
บรรพชิตจีนนิกาย และอนัมนิกายถวายพระพร จัดที่หน้าพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในตอนบ่ายของวันงาน ก่อนเวลา ๑๖ นาฬิกา ๓๐ นาที พระสงฆ์ทั้งสองนิกายถือพัดยศเข้ายืนเรียงแถวที่มุขหน้าพระอุโบสถ เมื่อพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินถึงประทับยืนตรงหัวแถว เจ้าคณะใหญ่ (ผลัดกันคณะละปี) ขึ้นสวดนำถวายพระพรชัยมงคลด้วยคำสวดฝ่ายมหายาน จบแล้วเจ้าคณะใหญ่อีกฝ่ายหนึ่ง อ่านรายงานถวายพระพรชัยเป็นภาษาไทย เสร็จแล้วทูลถวายเทียนมังกร พร้อมด้วยเครื่องสักการะบูชาตามธรรมเนียมฝ่ายมหายาน แล้วเสด็จขึ้นสู่พระอุโบสถ 
พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์นวัคคหายุสมธัมม์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระพุทธมหามณีรัตนปฏิมากร พระสัมพุทธพรรณี พระพุทธรูปฉลองพระองค์ และทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ แล้วทรงจุดธูปเทียนที่พระสงฆ์สวดนวัคคหายุสมธัมม์ และเทียนที่บูชาเทพยดานพเคราะห์ สังฆการีอาราธนาพระปริตร พระสงฆ์ห้ารูปเจริญพระพุทธมนต์ นวัคคหายุสมธัมม์ โหรสวดบูชาเทพยดานพเคราะห์ เสด็จลงสู่มุขหน้าพระอุโบสถ พระราชทานราชสังคหวัตถุ คือพระราชทานเงินแก่ข้าทูลละอองธุลีพระบาทผู้สูงอายุตั้งแต่อายุ ๗๒ ปีขึ้นไป แล้วเสด็จพระราชดำเนินไปยังพระที่นั่งอัมรินทรวินิจฉัย 
การสวดมนต์ นวัคคหายุสมธัมม์ หรือสวดนพเคราะห์นั้น พนักงานโหรสวดชุมนุมเทวดาก่อน จบแล้วสังฆการีจึงอาราธนาพระปริตร พระสงฆ์สวดมนต์เจ็ดตำนาน แต่ใส่สูตรตามลำดับนพเคราะห์ หยุดเว้นระยะให้โหรบูชาเทวดาพระเคราะห์ พอโหรบูชาจบลงก็สวดต่อสลับกันไปจนกว่าจะจบ พอสวดจบก็กลับวัด วันรุ่งขึ้นจึงไปรวมกันกับพระสงฆ์ที่เจริญพระพุทธมนต์ ในการพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ๖๐ รูป เพื่อถวายพระพร และรับพระราชทานฉันที่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย 
การทรงตั้งสมณศักดิ์ ณ พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย สังฆการีนิมนต์พระสงฆ์ที่ได้รับเลื่อนสมณศักดิ์ และได้รับสมณศักดิ์ขึ้นใหม่ เดินเรียงแถวเข้าไปรับพัดยศสัญญาบัตร และผ้าไตรจาก พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ขณะที่ทรงประเคนตั้งแต่วาระแรก ไปจนถึงรูปสุดท้ายนั้น พระสงฆ์ทรงสมณศักดิ์ผู้ใหญ่ ๑๐ รูป มีสมเด็จพระสังฆราชเป็นประธานสวด ชยนฺโต นำตั้งเรื่อยไปจนกว่าจะถึงรูปสุดท้าย พระสงฆ์ที่ได้รับเลื่อนและตั้งสมณศักดิ์ขึ้นใหม่ ออกไปครองผ้าข้างนอก เสร็จแล้วกับมานั่งยังอาสนะ รูปที่ได้รับสมณศักดิ์ชั้นสูงสุดตั้งพัด รูปอื่นก็ตั้งพัดพร้อมกันขึ้น ยถา ฯลฯ จบลงเพียง สุขํ พลํ แล้วสมเด็จพระสังฆราชผู้เป็นประธาน ถวายอดิเรกจบ ภวตุ สพฺ พมงฺคลํ ฯลฯ แล้วรูปที่สองถวายพระพรลาลุกกลับออกไป พระสงฆ์ที่ได้รับสมณศักดิ์ใหม่ บางรูปที่เป็นพระราชาคณะชั้นสูง หรือเป็นพระราชาคณะหัวเมืองต้องรออยู่สวดมนต์ก่อน ส่วนรูปที่ไม่ถูกสวดมนต์กลับวัดไป 
การเจริญพระพุทธมนต์ มีจำนวน ๖๐ รูป นิมนต์คณะธรรมยุติ ๓๐ รูป คณะมหานิกาย ๓๐ รูป ตามลำดับสมณศักดิ์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนมงคล เทียนเท่าพระองค์ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระพุทธรูป บูชาเทวรูปนพเคราะห์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการ สังฆการี อาราธนาศีล ทรงศีลจบแล้ว เสด็จ ฯ ขึ้นพระที่นั่งไพศาลทักษิณ ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระสยามเทวาธิราช แล้วเสด็จออกพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย สังฆการีเข้าไปอาราธนาพระปริตร พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ การพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา 
พระสงฆ์รูปที่สาม ขัดตำนานชุมนุมเทวดา สรชฺชํ สเสนํ สพนฺธํ , นรินทํ ปริตฺตานุภาโว สทา รกฺขตูติ ฯลฯ สคฺเค กาเม จ รูเป ฯลฯ ธมฺมสฺสวนกาโล อยมฺภทนฺตา 
สมเด็จพระสังฆราชขึ้นนำสวดมนต์ นโม ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฯลฯ ตติยมฺปิ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ 
โย จกฺ ขุมา โมหมลาปกฏฺโฐ ฯลฯ สพฺพนฺตรายา จ วินาสเมนฺตุ 
นโม อรหโต สมฺมาสมฺพุทฺธสฺส มเหสิโน ฯลฯ วิธิมฺหิโหมิ เตชวา 
หยุดเพียงนี้แล้ว พระสงฆ์รูปที่สามตั้งพัดขัดตำนานสวด ธมฺจกฺกปฺวตฺตนสูตร ขึ้นบท เย สนฺตา สนฺตจิตฺตา ติสรณสรณา ฯลฯ สห สพฺเพหิ ญาติภิ แล้วขัดต่อบทขัด ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสูตร อนุตฺตรํ อภิสมฺโพธึ สมฺพุชฌิตฺวา ตถาคโต ฯลฯ เวยฺยากรณปาเฐน สงฺคีตมฺภณามเห แล้วสวด ธมฺมจกฺกปฺปวตฺตนสูตร จนจบ แล้วสวดเจ็ดตำนานย่อ อเสวนา จ พาลานํ ฯลฯ ถึงบทมงคลสูตรนี้ เริ่มทำน้ำพระพุทธมนต์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จ ฯ ไปทรงจุดเทียนที่หม้อน้ำมนต์ คือพระกริ่งครอบ แล้วทรงประเคนสมเด็จพระสังฆราช ต่อไปสวดบท ยงฺกิญฺจิ วิตฺตํ อิธ วา หุรํ วา ฯลฯ ถึงวัตนสูตรบทนี้เริ่มหยดเทียนลงหม้อน้ำมนต์ พอสวดถึง นิพฺพนฺติ ธีรา ยถายมฺปทีโป ก็จุ่มเทียนลงในหม้อน้ำมนต์ 
ต่อไปสวดบท เมตญฺจ สพฺพโลกสฺมึ ฯลฯ คพฺภเสยฺยํ ปุนเรตีติ แล้วสวดบท อปฺปมาโณ พุทฺโธ ฯลฯ นโม สตฺตนฺนํ สมฺมาสมฺพุทฺธานํ แล้วสวดบท อิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ฯลฯ ปุญญกฺเขตตํ โลกสฺสาติ แล้วสวดบท วิปสฺสิสฺส นมตฺถุ จกฺขุมนฺตสฺส สิริมโต ฯลฯ พุทฺธํ วนฺทามิ โคตมนฺติ แล้วสวดบท ยโตหํ ภคินี อริยาย ชาติยา ชาโต นาภิชานามิ ฯลฯ โสตฺถิ เตโหตุ สพฺพทา 
ต่อไปสวดท้ายเจ็ดตำนาน นตฺถิ เม สรณํ อญฺญํ พุทฺโธ เม สรณํ วรํ ฯลฯ โหตุ เต ชยมงฺคลํ แล้วสวดต่อ ยงฺ กิญจิ รตนํ โลเก วิชฺชติ วิวิธํ ปุถุ ฯลฯ ตสฺมา โสตฺถี ภวนฺตุ เต แล้วสวดบท รตนตฺตยปฺปภาวสิทฺธิคาถา อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ โลกานํ อนุกมฺปโก ฯลฯ ธนุสฺฐาเนน สมฺปทาติ แล้วสวดบท ทุกฺ ขปฺปตฺตา จ นิทฺทุกขา ฯลฯ คจฺฉนฺตุ เทวตาคตา สพฺเพพุทฺธา พลปฺปตฺตา ฯลฯ รกฺขํ พนฺธามิ สพฺพโส แล้วสวดบท ภวตุสพฺพมงฺคลํ รกฺขนฺตุสพฺพเทวตา ฯลฯ สทา โสตถี ภวนฺตุเต แล้วขึ้นบท นกฺขตฺตยกฺขภูตานํ ปาปคฺคหนิวารณา ฯลฯ หนฺตวา เตสํ อุปทฺทเว สวดมนต์จบแล้วฉันน้ำชา ตั้งพัดถวายอดิเรก และถวายพระพรลาตามระเบียบพิธีหลวง 
สวดถวายพระพรและรับประทานฉัน รุ่งขึ้นจากวันพระราชพิธี หรือวันที่ ๖ ธันวาคม พระสงฆ์ที่เจริญพระพุทธมนต์ ๖๐ รูป และพระสงฆ์ที่เจริญนวัคคหายุสมธัมม์ ๕ รูป เข้าสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย การฉันภัตตาหารในงานพิธีหลวงต้องใช้บาตรใส่ถลกด้วย สังฆการีจะรับบาตรไปตั้งที่โต๊ะสำหรับซึ่งอยู่หน้าอาสนสงฆ์ เวลา ๑๐ นาฬิกา ๓๐ นาที พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จ ฯ ถึงพระบรมมหาราชวัง เสด็จขึ้นพระที่นั่งไพศาลทักษิณก่อน ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระสยามเทวาธิราช และเสด็จออกพระที่นั่ง อมรินทรวินิจฉัย ทรงจุดธูปเทียนบูชาพระพุทธรูปบูชา บูชาเทวรูปพระเคราะห์ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการทรงกราบแล้วประทับนั่ง พระสงฆ์สวดถวายพระพร 
สมเด็จพระสังฆราชขึ้นนำถวายพระพรด้วยบท นโม ตสฺส ภควโต ฯลฯ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฯลฯ สงฺฆํ สรณํ คจฺฉามิ 
คอิติปิโส ภควา อรหํ สมฺมา สมฺพุทฺโธ ฯลฯ ปุญฺญัก เขตฺตํ โลกสฺสาติ 
คพาหุ ํ สหสฺ สมภินิมฺมิตสาวุธนฺตํ ฯลฯ โมกฺขํ สุขํ อธิคเมยฺยนโรสปญฺโญ 
คมหาการุณิโก นาโถ หิตาย สพฺพปาณินํ ฯลฯ ลภนฺตตฺเถ ปทกฺขิเณ 
คภวตุ สพฺพมงฺคลํ รกฺขนฺตุ สพฺพเทวตา ฯลฯ สทา โสตถี ภวนฺตุเต 
สวดถวายพระพรจบแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และพระบรมวงศานุวงศ์ เสด็จ ฯ ไปทรงประเคนภัตตาหาร ทรงสนทนาอยู่จนกว่าพระจะฉันหวาน และน้ำชา จึงเสด็จไปประทับยังพระเก้าอี้ จากนั้นก็เป็นวาระที่ทรงสดับพระธรรมเทศนามงคลวิเศษกถา 
ถวายเทศน์มงคลวิเศษกถา นับว่าเป็นพิเศษต่างจากถวายเทศน์ในงานพระราชพิธีอื่น ๆ พระสงฆ์ผู้รับหน้าที่ถวายเทศน์มงคลวิเศษกถานี้ จะต้องนำความขึ้นกราบบังคมทูลพระพระบรมราชานุญาตก่อน เมื่อมีพระบรมราชานุญาตลงมาแล้วก็ถือเป็นหน้าที่ประจำที่จะต้องถวายเทศน์ทุกปี จนกว่าจะมีเหตุจำเป็น จึงกราบทูลขอพระบรมราชานุญาตเปลี่ยนรูปอื่น สำนวนเทศนามงคลวิเศษกถานั้น โดยปกติก็พรรณาถึงพระราชกรณียกิจ และพระราชจริยาวัตรขององค์พระมหากษัตริยาธิราชเจ้า ที่พระองค์ทรงพระปรีชาสามารถในการดำเนินรัฐประศาสโนบายบริหารประเทศชาติ และปกครองพสกนิกรให้ได้รับความร่มเย็นเป็นสุข โดยอาศัยหลักทศพิธราชธรรมจริยานุวัตรสิบประการ ท่านผู้ถวายเทศน์ต้องแต่งสำนวนเทศน์ให้เสร็จล่วงหน้า พิมพ์สำเนาส่งให้สำนักพระราชวังนำขึ้นทูลเกล้า ฯ ถวายก่อนวันงานพระราชพิธี เป็นสำนวนเทศน์กัณฑ์ใหญ่มีเนื้อความมาก ต้องใช้เวลาถวายเทศน์ตั้งแต่ ๔๕ นาทีถึงหนึ่งชั่วโมง ถวายมงคลวิเศษกถาจบลงแล้ว จะลงจากธรรมาสน์มานั่งยังอาสนเดิมในแถว แล้วพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวจะเสด็จ ฯ ไปประเคนเครื่องไทยธรรมกัณฑ์เทศน์พร้อมทั้งใบปวารณาแล้วพระผู้ถวายเทศน์จึงสวด ยถา วาริวหา ฯลฯ พระสงฆ์ทั้งหมดรับ สพฺพีติโย ฯลฯ 
คอคฺคปสาทสูตร 
คยงฺกิญฺจิ วิตฺตํ ฯลฯ 
คโส อตฺถ ลทฺโธ ฯลฯ 
คถวายอดิเรก 
คสพฺพพุทฺธานุภาเวน ฯลฯ 
เมื่อพระสงฆ์กลับออกจากพระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัยแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวและสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินกลับ แต่พระบรมวงศานุวงศ์ คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี และบรรดาข้าราชการทั้งฝ่ายทหาร ตำรวจ และพลเรือน ต้องรออยู่เวียนเทียนสมโภชดวงพระบรมราชสมภพ อีกระยะหนึ่ง พระครูหัวหน้าพราหมณ์ ตั้งพิธีบายศรี แก้ว ทอง เงิน บรรดาผู้ที่อยู่ในที่เฝ้า ฯ ยืนเข้าแถวเรียงราย รอบพระมหาเศวตฉัตร รับแว่นเวียนเทียน แว่นแก้ว ทอง เงิน จากพระมหาราชครู ส่งเวียนเทียนต่อกันไปจนครบถ้วนสามรอบ จึงเสร็จพิธีเวียนเทียนและกลับ 
เวลา ๑๖ นาฬิกา ๓๐ นาที พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จ ฯ มาสู่พระบรมมหาราชวังอีกวาระหนึ่ง เสด็จ ฯ ออกท้องพระโรงกลางพระที่นั่งจักรีมหาปราสาท คณะทูตานุทูตต่างประเทศเข้าเฝ้ากราบบังคมทูล ถวายพระพรชัยมงคล พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบ แล้วเสด็จกลับ 
งานราชอุทยานสโมสร เป็นงานเนื่องในการพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษา ทรงกำหนดให้จัดขึ้นในบ่ายวันที่ ๘ ธันวาคมทุกปี ที่สนามหญ้าพระที่นั่งอัมพรสถาน พระราชวังดุสิต โปรดเกล้า ฯ ให้ราชเลขาธิการพระราชวัง เชิญพระบรมวงศานุวงศ์ คณะองคมนตรี คณะรัฐมนตรี คณะทูตานุทูต สมาชิกรัฐสภา ข้าราชการฝ่ายทหาร พลเรือน ตำรวจ ที่มียศตั้งแต่ พันเอก พันตำรวจเอก และข้าราชการพลเรือนชั้นเอกขึ้นไป ไปเฝ้าทูลละอองธุลีพระบาท บรรดาผู้ได้รับเชิญแต่งตัวด้วยครึ่งยศไปรอเฝ้าพร้อมกัน 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ พร้อมด้วยสมเด็จพระเจ้าลูกยาเธอ พระเจ้าลูกเธอ เสด็จพระราชดำเนินลงสู่สนามหญ้า ทั้งสองพระองค์เสด็จ ฯ ไปทรงปฏิสันถารตามลำดับ เมื่อเสด็จผ่านแถวข้าราชการกระทรวงใด ปลัดกระทรวงพร้อมด้วยข้าราชการกระทรวงถวายความเคารพ ปลัดกระทรวงกราบถวายบังคมทูลให้ทรงทราบว่าเป็นข้าราชการกระทรวงนั้น เมื่อเสด็จ ฯ ไปทรงปฏิสันถารทุกกระทรวงแล้ว จึงเสด็จ ฯ เข้ากลางสนามทรงสนทนากับพระบรมวงศานุวงศ์ องคมนตรี และนายกรัฐมนตรี โปรดเกล้า ฯ พระราชทานเลี้ยงน้ำชา เครื่องว่าง ระหว่างนั้นนายกรัฐมนตรีกล่าวปราศรัยกราบบังคมทูลถวายพระพร เชิญชวนผู้ที่มาในงานดื่มถวายพระพรชัยมงคล ดุริยางค์บรรเลงเพลงสรรเสริญพระบารมี พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวมีพระราชดำรัสตอบ ทรงสนทนาปราศรัยกับพระบรมวงศานุวงศ์ และนายกรัฐมนตรี จนได้เวลาพอสมควรจึงเสด็จขึ้น 
งานราชอุทยานสโมสรเว้นมาตั้งแต่ปี พ.ศ.๒๕๑๖ 
งานพระราชพิธีที่โปรดเกล้า ฯ ให้จัดทุกปี ได้แก่การถวายพระพรของบรรพชิตญวนนิกาย และจีนนิกายการสวดนพเคราะห์ การพระราชราชสังคหวัตถุ การทรงตั้งสมณศักดิ์ ซึ่งอาจโปรดเกล้า ฯ ให้จัดวันหนึ่งวันใดที่ใกล้เคียงกับวันเฉลิมพระชนมพรรษา มีการยิงปืนใหญ่เฉลิมพระชนมพรรษา เวลา ๑๒.๐๐ น. สำนักพระราชวังจัดที่สำหรับลงพระนามถวายพระพร ในนามพระบรมมหาราชวัง การแต่งกายของข้าราชบริพารที่ร่วมในการพระราชพิธี แต่งเครื่องแบบเต็มยศสายสะพายจุลจอมเกล้า การลงนามถวายพระพรเครื่องแบบชุดปกติขาว ทางราชการกำหนดให้เป็นวันหยุดราชการหนึ่งวัน การมีการชักธง และประดับธงชาติตามสถานที่ราชการ และอาคารบ้านเรือน กับตามประทีปโคมไฟในเวลากลางคืน 
วันเฉลิมพระชนมพรรษาสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ 
ในตอนเช้าเป็นการทรงบำเพ็ญพระราชกุศลส่วนพระองค์ นิมนต์พระสงฆ์เท่าพระชนมพรรษา เข้าไปรับพระราชทานอาหารบิณฑบาตที่พระตำหนักจิตรลดา ฯ พระราชพิธีจัดให้มีที่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย เจ้าหน้าที่สังฆการีจัดสายสิญจน์ปเข้าพิธี และถวายพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ พระสงฆ์ที่นิมนต์มาเจริญพระพุทธมนต์ ในพระราชพิธีนี้มีทั้งฝ่ายธรรมยุต และมหานิกาย มีจำนวนเท่ากันหรือไล่เลี่ยกัน เจริญพระพุทธมนต์ตอนบ่าย รุ่งขึ้นรับพระราชทานฉันภัตตาหารเพล เสร็จแล้วสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ ทรงประเคนจตุปัจจัยไทยธรรม สมเด็จพระราชาคณะนั้น เสด็จไปทรงประเคนที่อาสนะกับที่นั่ง พระราชาคณะรองลงมาจากนั้นต้องลุกจากอาสนสงฆ์เรียงแถวเข้ารับ เจ้าพนักงานจัดโต๊ะปูลาดผ้าขาวตั้งตรง ที่สมเด็จพระบรมราชินีนาถประทับยืน พระสงฆ์ที่เข้ารับนำผ้ากราบไปยืนวางบนโต๊ะ สมเด็จพระบรมราชินีนาถทรงประเคนโดยทรงวางใบปวารณา หรือเครื่องไทยธรรมลงบนผ้ากราบ พระสงฆ์รับประเคนแล้วกับไปนั่งยังอาสนสงฆ์ที่เดิม สมเด็จพระสังฆราชถวายอนุโมทนา ยถา ฯลฯ สพฺพี ฯลฯ สา อทฺถลทฺธา ฯลฯ ถวายอดิเรก ฯลฯ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ จบแล้วถวายพระพรลา 
งานวันปิยมหาราช 

วันที่ ๒๓ ตุลาคม เป็นวันคล้ายวันสวรรคต พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้กำหนดการงานพระราชพิธีทรงบำเพ็ญพระราชกุศลทักษิณานุปทาน เป็นการประจำปี งานนี้จัดเป็นงานวันเดียว มีสวดมนต์ ถวายเทศนา และสดับปกรณ์ พระสงฆ์สวดมนต์มี ๒๐ รูป ไม่ได้นิมนต์ตามเกณฑ์สมณศักดิ์ แต่นิมนต์โดยถือเกณฑ์วัดที่เกี่ยวกับ พระบรมอัฐิพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระบรมอัฐิสมเด็จพระศรีพัชรินทราบรมราชินีนาถ และอัฐิสมเด็จพระศรีสวรินทราบรมราชเทวีพระพันวสาอัยิกาเจ้า ส่วนพระสดับปกรณ์พระบรมอัฐิมีจำนวน ๕๗ รูป เช้าเป็นการเท่ากับพระชนมพรรษา พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว พระถวายเทศนานิมนต์จากพระราชาคณะชั้นสูง ตั้งแต่ชั้นรองสมเด็จพระราชาคณะลงมา งานพระราชพิธีนี้ จัดที่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย บางครั้งจัดที่พระที่นั่งจักรีมหาปราสาท ไม่ต้องวงสายสิญจน์ และไม่ต้องตั้งหม้อน้ำมนต์ เพราะเป็นพระราชพิธีทักษิณานุปทาน ทรงบำเพ็ญพระราชกุศลเกี่ยวด้วยพระบรมอัฐิ ไม่ใช่พระราชพิธีมงคล 
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระนางเจ้า ฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จไปทรงวางพวงดอกไม้ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องสักการะ กราบถวายบังคมพระบรมรูปพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า ฯ ที่ลานพระราชวังดุสิตก่อน แล้วจึงเสด็จพระราชดำเนินไปยังพระบรมมหาราชวัง เสด็จเข้าสู่พระที่นั่งอมรินทรวินิจฉัย พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ทรงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการแล้ว พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว และสมเด็จพระบรมราชินีนาถ ทรงจุดธูปเทียนเครื่องสักการะ กราบถวายบังคมพระบรมอัฐิแล้วประทับนั่งยังพระเก้าอี้ พระสงฆ์ ๒๐ รูป สวดพระพุทธมนต์ จบแล้วนิมนต์พระขึ้นนั่งยังธรรมาสน์ อาราธนาศีล และอาราธนาธรรม เมื่อถวายเทศนาจบ ยถา ฯลฯ บนธรรมมาสน์ สมเด็จพระสังฆราช หรือสมเด็จพระราชาคณะ ที่เป็นประธานในการสวดมนต์ตั้งพัด รับ สพฺพี ฯลฯ จบแล้ว ทรงประเคนเครื่องไทยธรรมกัณฑ์เทศน์ ทรงพาดผ้าสดับปกรณ์ สังฆการีนิมนต์พระสงฆ์ที่สวดมนต์ไปนั่งยังอาสนสงฆ์เพื่อสดับปกรณ์ การสดับปกรณ์พระบรมอัฐินี้คงนั่งตามสมณศักดิ์ ไม่นั่งสลับตามเกณฑ์เหมือนสดับปกรณ์ผ้าคู่ในพระราชพิธีสงกรานต์ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเสด็จมาทรงทอดผ้าไตร พระสงฆ์ว่า อนิจจา วต สงฺ ขารา ฯลฯ ชักผ้าสดับปกรณ์แล้วกลับไปนั่งยังอาสนสงฆ์ตามเดิม สมเด็จพระสังฆราชถวายอดิเรก พระสงฆ์องค์สองขึ้นบท สพฺพพุทฺธานุภาเวน ฯลฯ อยยฺ จโข ฯลฯ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ สถาโสตถี ภวนฺตุ เต แล้วสมเด็จพระราชาคณะ หรือพระราชาคณะรูปที่สอง ถวายพระพรลาเสร็จแล้วลงจากอาสนเดินทางกลับ สังฆการีจะนิมนต์พระเข้าสดับปกรณ์ทีละชุดอีกครั้งหนึ่ง กะให้พอดีกับจำนวนอาสนสงฆ์ งานนี้ปกติต้องมีมาติกา แต่จะไม่มีก็ได้สุดแต่ฝ่ายสำนักพระราชวังจะแจ้ง ให้สังฆการีทราบ และสังฆการีจะเผดียงให้พระรูปที่เป็นหัวหน้าทราบอีกครั้งหนึ่ง พระสงฆ์ที่เข้าสดับปกรณ์ชุดแรกเมื่อว่า อนิจฺจา วต สงฺ ขารา ฯลฯ ชักผ้าสดับปกรณ์เสร็จแล้ว ต้อง ยถา ฯลฯ สพฺพี ฯลฯ ถวายอดิเรก ฯลฯ ภวตุ สพฺพ มงฺคลํ ฯลฯ จบแล้วรูปที่สามต้องถวายพระพรลา แล้วลุกจากอาสนสงฆ์ไป พระสงฆ์ที่จะเข้าสดับปกรณ์ชุดต่อ ๆ ไปในงานเดียวกันนี้ ไม่ต้อง ยถา ฯลฯ สพฺพี ฯลฯ ไม่ต้องถวายอดิเรก ไม่ต้องถวายพระพรลา เพียงแต่ว่า อนิจฺจา ฯลฯ ชักผ้าสดับปกรณ์ แล้วก็ลุกจากอาสนสงฆ์ออกไปได้ 
ในวันปิยมหาราช เป็นวันหยุดราชการหนึ่งวัน จะมีพิธีถวายบังคมพระบรมรูปทรงม้าในกรุงเทพ ฯ มีการวางพวงมาลา และถวายบังคมพระบรมรูปทรงม้า ที่ลานหน้าพระที่นั่งอนันตสมาคม พระราชวังดุสิต ในต่างจังหวัดมีงานพิธีบำเพ็ญกุศล ที่ศาลากลางจังหวัด ที่ว่าการอำเภอทั่วพระราชอาณาจักร 
พิธีสงฆ์ในงานพิธีของทางราชการ 
งานพิธีที่ทางราชการจัดขึ้น และได้กราบังคมทูลเชิญ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว หรือสมเด็จพระบรมราชินีนาถ เสด็จไปเป็นประธานในพิธี พิธีสงฆ์ในงานนี้ไม่มีสวดมนต์ หรือเจริญพระพุทธมนต์ ไม่มีฉันคงมีแต่เจริญชัยมงคลคาถาเมื่อเวลาทรงเปิดงาน หรือพระราชทานปริญญาบัตรเท่านั้น แต่ต้องสวดชยันโตเรื่อยไปหลายจบ จนกว่าจะถึงผู้เข้ารับพระราชทานคนสุดท้าย พระสงฆ์ที่นิมนต์ไปในงานเช่นนี้ โดยปกตินิมนต์พระราชาคณะที่เป็นเปรียญ ๙ ประโยค เพราะถือว่าเป็นผู้สำเร็จการศึกษาชั้นสูงสุด ทางฝ่ายปริยัติธรรมได้รับปริญญาเหมือนกัน เมื่อสวดชัยมงคลคาถาจบ เจ้าภาพของงานนั้นเป็นผู้ถวายของ แล้วพระสงฆ์ ยถา ฯลฯ ถวายอนุโมทนา ถวายอดิเรก แต่ไม่ต้องถวายพระพรลา ในงานเช่นนี้ต้องใช้พัดยศ เพราะเป็นงานที่เสด็จพระราชดำเนิน แต่ถ้าไม่ได้เสด็จพระราชดำเนินต้องใช้พัดรอง เพราะไม่ใช่งานพระราชพิธี งานพระราชกุศล หรืองานรัฐพิธี นอกจากนี้ก็มีงานพิธีที่เสด็จพระราชดำเนินอีกหลายอย่าง เช่นเสด็จในงานพิธีเปิดอาคาร พิธียกช่อฟ้าพระอุโบสถ พิธีวางศิลาฤกษ์ เป็นต้น งานพิธีเช่นนี้พระสงฆ์ที่นิมนต์ไปในงานต้องใช้พัดยศเหมือนกัน 
ส่วนงานพิธีที่ทางราชการหรือส่วนงานราชการจัดขึ้นเอง ทำนองกับงานราษฎร์ทั่วไป เมื่อจัดให้มีพิธีสงฆ์ เช่นทำบุญเลี้ยงพระ หรือนิมนต์พระมาเจริญพระพุทธมนต์ พระสงฆ์ที่ได้รับนิมนต์มาในงานเช่นนี้ จะไม่ใช้พัดยศคงใช้พัดรองเท่านั้น การดำเนินพิธีทั้งฝ่ายเจ้าภาพ และฝ่ายสงฆ์คงเป็นเช่นเดียวกัน กับงานราษฎร์ทั่วไป จะมีแตกต่างกันแต่ในพิธีเจริญพระพุทธมนต์ ตอนขึ้นต้นตำนาน ตั้งแต่ สรชฺชํ สเสนํ เท่านั้น 
ตัวอย่างคำถวายอดิเรก 
อติเรก วสฺสสตํ ชีวตุ (สามครั้ง) 
ฑีฆายุโก โหตุ อโรโค โหตุ , ฑีฆายุโก , อโรโค โหตุ , สุขิโต โหตุ ปรมินฺทมหาราชา สราชินี , สิทฺธิกิจฺจํ สิทฺธิกมฺมํ สิทฺธิลาโภ ชโย นิจฺจํ ปรมินฺทมหาราชวรสฺส ราชินียา สห ภวตุ สพฺพทา ขอถวายพระพร 
ตัวอย่างคำถวายพระพรลา 
ขอถวายพระพรเจริญราชสิริสวัสดิ์พิพัฒนมงคลพระชนมสุขทุกประการ จงมีแด่สมเด็จพระบรมบพิตรพระราชสมภาร พระองค์สมเด็จพระปรมินทรธรรมิกมหาราชาธิราชเจ้า ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ เวลานี้สมควรแล้ว อาตมภาพทั้งปวงขอถวายพระพรลา แด่สมเด็จพระบรมบพิตรพระราชสมภาร พระองค์ผู้ทรงพระคุณอันประเสริฐ ขอถวายพระพร 
พิธีสงฆ์ในงานทำบุญ 
พิธีเจริญพระพุทธมนต์ 
การเจริญพระพุทธมนต์ เป็นพิธีกรรมฝ่ายสงฆ์พึงปฏิบัติโดยเฉพาะในงานมงคลต่าง ๆ ได้แก่ พระสงฆ์ตามจำนวนนิยมของพิธีร่วมกันสาธยายมนต์ จากคาถาพุทธภาษิตบ้าง จากพระสูตรบ้าง จากมนต์ของเกจิอาจารย์ เป็นธรรมคติบ้าง ตามที่พระโบราณาจารย์กำหนดไว้โดยควรแก่พิธีนั้น ๆ การสาธยายมนต์ของพระสงฆ์ในพิธีทำบุญ ถ้าเป็นงานมงคลนิยมเรียกว่า เจริญพระพุทธมนต์ ถ้าเป็นงานอวมงคลนิยมเรียกว่า สวดพระพุทธมนต์ แต่ชาวบ้านโดยทั่วไปเรียกกันว่า สวดมนต์ ไม่ว่าจะเป็นงานใด 
บทพระพุทธมนต์ที่ใช้ในงานมงคลต่าง ๆ ใช้กันโดยทั่วไป มีดังนี้ 
เจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน ธัมมจักกัปปวัตตนสูตร มหาสมยสูตร โพชฌงคสูตร คิริมานนทสูตร มหาสติปัฏฐานสูตร ชยมงคลคาถา คาถาจุดเทียนชัย และคาถาดับเทียนชัย 
การเจริญพระพุทธมนต์ นิยมใช้บทเจ็ดตำนานเป็นพื้น แต่บทสวดมนต์ที่เรียกว่า เจ็ดตำนานนี้ พระโบราณาจารย์ได้กำหนดพระสูตรคาถา และหัวข้อ พุทธภาษิต บรรดาที่มีอานุภาพในทางแนะนำและป้องกันสรรพภัยพิบัติ ซึ่งรวมเรียกว่าพระปริตต์ ไว้ให้เลือกสวดมากบทด้วยกันคือ 
มงคลสูตร รตนสูตร กรณียเมตตสูตร ขันธปริตต์ โมรปริตต์ ธชัคคปริตต์ หรือ ธชัคคสูตร อาฏานาฏิยปริตต์ โพชฌงคปริตต์ มีองคุลิมาลปริตต์ เป็นบทต้น เมื่อรวมโมงปริตต์เข้ากับธชัคคปริตต์ ก็จะเหลือเพียงเจ็ดบท 
ในการสวดโดยทั่วไปนิยมใช้สวดเพียงเจ็ดบท หรือน้อยกว่า ทั้งนี้แล้วแต่ความสำคัญของงาน และเวลาที่สวดมนต์จะอำนวยให้ ดังนั้นในการสวดเจ็ดตำนาน จึงเกิดความนิยมในภายหลังเป็นสามแบบ เรียกว่าแบบเต็ม แบบย่อ และแบบลัด 
การสวดมนต์ จะสวดบทสวดมนต์ อย่างไรก็ตาม บทสวดมนต์นั้น ๆ ต้องมีเบื้องต้นเรียกว่า ต้นสวดมนต์ หรือต้นตำนาน ต่อจากบทเบื้องต้นเป็นท่ามกลางสวดมนต์ ซึ่งได้ตำนานหรือพระปริตร์ หรือสูตรต่าง ๆ ตามกำหนด สุดท้ายเป็นเบื้องปลายของบทสวดมนต์ เรียกกันว่า ท้ายสวดมนต์ 
ถ้าเป็นงานใหญ่ จะมีสวดมนต์เย็นวันหนึ่งก่อน รุ่งขึ้นเลี้ยงพระ นิยมสวดเจ็ดตำนานเต็ม ให้พระสงฆ์ขัตตำนานขัตนำทุกตอน และทุกบทที่สวดด้วย ดังนี้ 
ต้นตำนาน ขัตนำ สคฺเค ถ้าสวดในงานพระราชพิธีขัตขึ้นต้นตั้งแต่ สรชฺชํ สเสนํ ฯลฯ แต่ถ้าสวดในงานราษฎร์ทั่วไปขัตขึ้นต้นตรง ผริตฺวาน เมตฺตํ ฯลฯ 
คสวดบทนมัสการ นโม ตสฺส ภควโต ฯลฯ 
คสวดบท สรณคมนปาฐะ พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฯลฯ 
คสวดบท สมฺพุทฺเธ ฯลฯ แต่ปัจจุบันใช้บท นมการสิทธิคาถา โย จกฺขุมา ฯลฯ 
คสวดบท นมการอัฏฐคาถา นโม อรหโต ฯลฯ 
ตัวตำนานหรือพระปริตร จัดขัตตำนาน และต่อนำมงคลสูตร เย สนฺตา ฯลฯ ถึง ญาติภิ ต่อ ยญฺจทฺวาทสวสฺสานิ ฯลฯ จนจบ 
คสวดมงคลสูตร เอวมฺเม สุตํ ฯลฯ 
คขัตนำ รตนสูตร ปณิธานโต ปฏฺฐาย ฯลฯ 
คสวด รตนสูตร ยานิธ ภูตานิ ฯลฯ 
คขัตนำ กรณียเมตตสูตร ยสฺสานุ ภาวโต ฯลฯ 
คสวด กรณียเมตตสูตร กรณียมตฺถกุสฺเลน ฯลฯ 
คขัตนำ ขันธปริตต์ สพฺพาสีวิสชาตีนํ ฯลฯ 
คสวด ขันธปริตต์ วิรูปกฺเขติ เมตฺตํ ฯลฯ 
คขัตนำ โมรปริตต์ ปูเรนฺตมฺโพธิสมฺภาเร ฯลฯ 
คสวด โมรปริตต์ อุเทตยญฺจกฺขุมา ฯลฯ 
คขัตนำ ธชัคฺคปริตต ์ ยสฺสานุสฺสรเณนาปิ ฯลฯ 
คสวด ธชัคคปริตต์ เอวมฺเม สุตํ ฯลฯ 
คขัตนำ อาฏานาฏิยปริตต์ อปฺปสนฺเนหิ นาถสฺส ฯลฯ 
คสวด อาฏานาฏิยปริตต์ วิปสฺสิ นมตฺถุ ฯลฯ 
คขัตนำ องคุลิมาลปริตต์ ปริตฺตํ ยมฺภณนฺตสฺส ฯลฯ 
คสวด องคุลิมาลปริตต์ ยโตหํ ภคินี ฯลฯ 
ท้ายตำนาน 
คสวดบท ยนฺทุนฺนิมิตฺตํ ฯลฯ 
คสวดบท ทุกฺขปฺปตฺตา ฯลฯ 
คสวดบท มหากรุณิโกนาโถ ฯลฯ 
คสวดบท สกฺกตฺวา พุทฺธรตฺตนํ ฯลฯ 
คสวดบท ยงฺกิญฺจิ รตนํ โลเก ฯลฯ 
ถ้าเป็นงานพระราชพิธีต่อไปให้สวดบท รตนตฺตยปฺปภาวาภิยาจนคาถา อรหํ ฯลฯ และสุขาภิยาจนคาถา ยํยํ ฯลฯ หรือจะสวด อรหํ สมฺมาสมฺพุทฺโธ ฯลฯ แทนก็ได้ ต่อไปสวดบทมงคลจักรวาฬใหญ่ สิริธิติ ฯลฯ 
คสวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ 
คสวดบท นกฺขตฺตยกฺขภูตานํ ฯลฯ 
การสวดเจ็ดตำนานแบบเต็ม ต้องใช้เวลาสวดประมาณ สองชั่วโมง ส่วนการสวดย่อจะใช้เวลาประมาณ ๓๐ - ๔๕ นาที นอกจากนี้ยังมีสวดแบบลัดใช้เวลาประมาณ ๒๐ นาที หลักการสวดแบบลัด จะเว้นไม่สวดมงคลสูตร กับรตนสูตรไม่ได้ เพราะถือกันว่างานบุญมงคลต้องมีมงคลสูตรเป็นหลัก กับรตนสูตรเป็นบททำน้ำพระพุทธมนต์ 
พิธีสวดพระพุทธมนต์ 
การสวดพระพุทธมนต์ คือการสวดมนต์เป็นพิธีสงฆ์ในงานอวมงคล ระเบียบพิธีพึงจัดเหมือนกับงานทั่วไป ต่างแต่ถ้าเป็นงานทำบุญหน้าศพ ไม่ต้องสงสายสิญจน์ และไม่ต้องตั้งน้ำมนต์ ถ้าปรารภศพแต่ไม่มีศพตั้งอยู่ในบริเวณพิธี จะวางสายสิญจน์โดยถือเป็นการทำบุญบ้านไปในตัวด้วยก็ได้ แม้นำมนต์จะตั้งด้วยก็ได้ ส่วนระเบียบพิธีฝ่ายสงฆ์มีนิยมต่างกันตามประเภทของงานเป็นอย่าง ๆ คือ 
งานทำบุญหน้าศพ หมายถึงทำในขณะศพยังอยู่ ยังมิได้ปลงด้วยวิธีฌาปนกิจ มีที่นิยมทำกันทั่วไปมีสี่ลักษณะ ได้แก่ 
ทำบุญเจ็ดวัน วันแรกนับแต่วันมรณะ ทำเป็นงานออกแขกใหญ่ เรียกว่า ทักษิณานุสรณ์ หรือเรียกกันโดยทั่วไปว่า งานทำบุญสัตตมวาร 
ทำบุญทุกเจ็ดวัน ก่อนครบ ๕๐ วัน มักนิยมทำเป็นการภายในไม่ออกแขกเรียกว่า ทักษิณานุประทาน 
ทำบุญ ๕๐ วันและ ๑๐๐ วัน เป็นงานออกแขก 
ทำบุญเปิดศพก่อนปลง เป็นการทำหน้างานปลงศพ อาจทำเป็นการภายใน แล้วออกแขกใหญ่ในงานปลง งานนี้จะทำเป็นงานสองวัน คือมีสวดพระพุทธมนต์เย็นวันหนึ่ง รุ่งขึ้นมีพิธีเลี้ยงพระ และฌาปนกิจในเวลาบ่ายหรือเย็น จะทำเป็นงานวันเดียวโดยเริ่มต้นตอนเช้าทำพิธีสวดพระพุทธมนต์แล้วเลี้ยงพระ บ่ายหรือเย็นชักศพไปทำการฌาปนกิจ ในงานทำบุญดังกล่าวนี้ มีนิยมจัดให้มีพระธรรมเทศนา สวดมาติกา บังสุกุล และสวดพระอภิธรรมด้วย พระสูตรที่นำมาสวดในงานนี้มักใช้ธรรมนิยามสูตร หรือสติปัฏฐานปาฐะ เป็นพื้น 
ถ้ามีการแสดงพระธรรมเทศนาต่อจากพิธีสวดพระพุทธมนต์ เจ้าภาพไม่ต้องอาราธนาศีลก่อน พอจุดธูปเทียนหน้าพระ และหน้าศพเสร็จก็อาราธนาพระปริตร แล้วพระสงฆ์ดำเนินพิธีสวดพระพุทธมนต์ การรับศีลไปประกอบพิธีเทศน์หลังสวดมนต์จบ แต่ถ้าจะรับศีลทั้งสองวาระก็ทำได้ 
งานทำบุญอัฐิ เป็นการทำบุญหลังการปลงศพแล้ว นิยมทำกันสามลักษณะ คือ 
ทำบุญฉลองธาตุ ต่อจากวันฌาปนกิจเสร็จแล้วเป็นการทำบุญในบ้าน เมื่อเก็บอัฐิแล้วนำมาไว้ในบ้าน หรือจะทำในสถานที่บรรจุอัฐิธาตุ สำหรับผู้ที่เตรียมที่บรรจุไว้ก่อนแล้วก็ได้ 
ทำบุญเจ็ดวัน ทำหลังจากฌาปนกิจ คือปลงศพแล้ว 
ทำบุญอุทิศให้ผู้มรณะในรอบปี คือทำในวันคล้ายวันมรณะ ที่เวียนมาบรรจบในรอบปี บางท่านอาจนำไปรวมทำในวันเทศกาลของปี เช่นวันสารท วันตรุษสงกรานต์ 
งานทำบุญทั้งสามลักษณะดังกล่าว การจัดบริเวณพิธีเหมือนกับงานทำบุญทั่วไป ต่างแต่นำโกศอัฐิมาตั้งเป็นประธานแทนศพ จะใช้รูปถ่ายของผู้มรณะแทนอัฐิก็ได้ บางท่านก็ใช้บริเวณโต๊ะหมู่เครื่องบูชาพระพุทธรูปหัวอาสนสงฆ์ เป็นที่ตั้งโกศอัฐิด้วย คือตั้งโกศชั้นต่ำกว่าพระพุทธรูปลงมา ถ้ามีวงสายสิญจน์ทำบุญบ้านด้วย ห้ามนำสายสิญจน์วงโกศก่อน ตอนจะบังสุกุลอัฐิท้ายพิธี ถ้าไม่มีภูษาโยง หรือสายสิญจน์ที่จะใช้แทนภูษาโยงต่างหาก จะใช้สายสิญจน์วงบ้านวงพระพุทธ ต้องตัดสายสิญจน์ที่วงบ้านหรือพระพุทธรูปให้ขาดก่อน แล้วตั้งต้นวงเฉพาะโกศอัฐิเท่านั้น ชักไปสู่พระสงฆ์แทนภูษาโยง 
สำหรับระเบียบสวดพระพุทธมนต์ต้องดูให้สมควร ถ้าเจ้าภาพวงสายสิญจน์ตั้งน้ำมนต์ เป็นการฉลองบ้านด้วย ก็สวดมนต์เจ็ดตำนานเหมือนงานมงคลทั่วไป ต่างแต่ตอนท้ายพิธีมีชักบังสุกุลอัฐิเป็นงานอวมงคล และอนุโมทนาทานเพื่อผู้มรณะเท่านั้น ถ้าเจ้าภาพไม่วงสายสิญจน์ไม่ตั้งน้ำมนต์ แต่ตั้งโกศอัฐิเป็นประธาน แสดงว่าเจ้าภาพต้องการให้งานนี้เป็นเพื่อผู้ตายโดยตรง และเป็นงานอวมงคล พระสงฆ์ต้องประกอบพิธีสวดพระพุทธมนต์อย่างเดียวกับงานทำบุญเปิดศพที่กล่าวมาแล้ว 
พิธีสวดพระอภิธรรม 
งานทำบุญเกี่ยวด้วยศพ นับตั้งแต่มีมรณกรรม จนถึงวันปลงศพด้วยวิธีฌาปนกิจ มักนิยมจัดให้มีพิธีสวดพระอภิธรรมประกอบงานทำบุญศพนั้นด้วย พิธีสวดพระอภิธรรมมีสองอย่างคือ สวดประจำยามหน้าศพ และสวดหน้าไฟในขณะฌาปนกิจ 
การสวดพระอภิธรรมประจำยามหน้าศพ นิยมจัดในสถานที่ตั้งศพเป็นพิธีในตอนกลางคืนวันที่ศพถึงแก่กรรม การสวดนี้บางแห่งนิยมจัดนิมนต์พระมาสวดเป็นสำรับ สำรับละยาม สวดตลอดรุ่งสี่ยาม บางแห่งสวดแต่ในยามต้นคือเพียงสามทุ่ม หรืออย่างมากไม่เกินสองยามคือเที่ยงคืน มีระเบียบพิธี ดังนี้ 
๑) เจ้าภาพเตรียมอาสนสงฆ์ สำหรับสวดสี่รูปไว้หน้าศพด้านใดด้านหนึ่ง แล้วแต่เหมาะ มีตู้พระธรรมหนึ่งตู้ ตั้งหน้าอาสนะพระที่สวด ในกึ่งกลางระหว่างรูปที่สองกับรูปที่สาม ตั้งที่บูชาหน้าตู้พระธรรมออกมาที่หนึ่ง ประกอบด้วยพานดอกไม้ตั้งกลางชิดตู้พระธรรมสองข้างพานตั้งแจกันดอกไม้หนึ่งคู่ ถัดออกมาตั้งกระถางธูปตรงกับพานดอกไม้ สองข้างกระถางธูปตั้งเชิงเทียนหนึ่งคู่ตรงกับแจกัน มีเทียนและธูปสามดอกปักไว้พร้อม 
๒) นิมนต์พระสงฆ์มาสวดพระอภิธรรม จะเป็นสำรับเดียวหรือหลายสำรับแล้วแต่ศรัทธา 
๓) พระสงฆ์ที่รับนิมนต์ทุกรูปมีพัดไปด้วย ได้เวลาประกอบพิธีแล้ว เข้านั่งยังอาสน วางพัดตั้งเรียงไว้ตามระเบียบ เมื่อเจ้าภาพจุดเทียนหน้าศพแล้ว จุดเทียนหน้าที่บูชา อาราธนาศีล หัวหน้าสงฆ์ให้ศีล จบแล้วเจ้าภาพอาราธนาธรรม การสวดพระอภิธรรม ทุกรูปตั้งพัดพร้อมกันแล้วดำเนินการพิธีสวด บทสวดพระอภิธรรมประจำยามหน้าศพมีสองแบบ ถ้าสวดอย่างสวดมนต์ธรรมดา ใช้บทสัตตัปปกรณาภิธรรม คือบทมาติกา พระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ในหนังสือสวดมนต์ฉบับหลวง เริ่มต้นด้วย นโม ฯลฯ นำ แล้วสวดตั้งแต่บทธรรมสังคณีไปจนจบปัฏฐาน หยุดพักพอสมควร แล้วตั้งต้นสวดบทธรรมสังคณีไปจนจบปัฏฐานอีกรอบหนึ่งแล้วพัก ต่อไปเริ่มรอบสาม รอบสี่ จบรอบสุดท้ายคือรอบสี่แล้วเจ้าภาพถวายไทยธรรม พระสงฆ์สวดอนุโมทนาต่อด้วยบท 
ยถา วาริวหา ฯลฯ สพฺพีติโย ฯลฯ อทาสิ เม ฯลฯ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ 
ถ้าเจ้าภาพประสงค์จะให้สวดทำนอง สรภัญญะ หรือจะเป็นฝ่ายสงฆ์เห็นสมควรจะสวดทำนองสรภัญญะ บทสวดก็ใช้บทพระอภิธัมมัตถสังคหเก้าปริเฉท เริ่มตั้งแต่ปริเฉทที่หนึ่งไปจบปริเฉทหนึ่ง ๆ แล้วพักในระหว่างจนครบเก้าประเฉท เวลาก็พอดีหนึ่งยาม สวดจบเก้าปริเฉทแล้ว เจ้าภาพถวายไทยธรรม พึงอนุโมทนาเช่นเดียวกับแบบแรก เป็นอันเสร็จพิธี 
การสวดพระอภิธรรมหน้าไฟ นิยมสวดในขณะทำการฌาปนกิจ การจัดสถานที่เช่นเดียวกันกับการจัดสวดหน้าศพ ต่างแต่ไปจัดในบริเวณฌาปนสถาน พิธีสวดของพระสงฆ์ใช้สวดบทสัตตัปปกรณาภิธรรมอย่างเดียว การสวดไม่มีพิธีฝ่ายเจ้าภาพอย่างสวดงานหน้าศพ แต่ถือพิธีเริ่มจุดศพเป็นสำคัญ เมื่อใกล้เวลาเริ่มจุดศพ 
พระสงฆ์ผู้ได้รับนิมนต์พึงเข้านั่งประจำที่ให้พร้อม พอเริ่มจะจุดศพก็ตั้งพัดพร้อมกัน พอจุดศพเป็นวาระแรกก็ตั้ง นโม ฯลฯ แล้วสวดบทธรรมสังคณีเป็นลำดับไปจนจบปัฏฐาน เมื่อเจ้าภาพถวายไทยธรรมแล้ว อนุโมทนา เป็นอันเสร็จพิธี 
พิธีสวดมาติกา 
การสวดมาติกา คือการสวดบทมาติกาของพระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์หรือที่เรียกว่า สัตตัปปกรณาภิธรรม ซึ่งมีการบังสุกุลเป็นที่สุด เป็นประเพณีนิยม จัดให้พระสงฆ์สวดในงานทำบุญหน้าศพอย่างหนึ่ง เรียกในงานหลวงว่า สดับปกรณ์ แต่ราษฎรทั่วไปเรียกว่า สวดมาติกา โดยจัดเป็นพิธีต่อจากการสวดพระพุทธมนต์เย็นบ้าง ถ้ามีเทศน์ต่อจากการสวดพระพุทธมนต์เย็นก็จัดพิธีสวดมาติกาจากการเทศน์ และจัดให้มีต่อจากพิธีเลี้ยงพระในวันรุ่งขึ้นบ้าง นับเป็นพิธีทำบุญแทรกในระหว่างงานทำบุญหน้าศพ 
การจัดพิธีสวดมาติกา มีนิยมทำกัน ดังนี้ 
๑) ฝ่ายเจ้าภาพพึงเผดียงสงฆ์ ตามจำนวนและแจ้งกำหนดเวลา จำนวนพระสงฆ์ผู้ประกอบพิธีสวดมาติกา นิยมเท่าจำนวนอายุของผู้มรณะ หรือเท่าจำนวนพระสงฆ์ทั้งหมดของวัด หรือน้อยกว่าที่กล่าวนี้ก็ได้ 
๒) เตรียมจัดที่สำหรับพระสงฆ์สวดมาติกา ถ้าอาสนะไม่พอกับจำนวนพระสงฆ์ที่นิมนต์ ก็ให้พระสงฆ์ขึ้นประกอบพิธีเป็นชุด ๆ จนครบจำนวน 
๓) พระสงฆ์ที่รับนิมนต์ มีพัดไปด้วยทุกรูปเพื่อใช้ในพิธี ในกรณีที่มีพัดไม่ครบ ก็ให้มีแต่หัวหน้าเพียงรูปเดียว เมื่อได้เวลาก็ขึ้นนั่งบนอาสนะพร้อมกันทั้งหมด ถ้าเป็นงานหลวงใช้พัดยศต้องนั่งเรียงตามศักดิ์พัดที่ตนถือ เมื่อพร้อมแล้วเจ้าภาพจุดธูปเทียนหน้าศพเป็นสัญญาณ ถ้าไม่มีพิธีรับศีลเพราะรับมาก่อนแล้ว พึงตั้งพัดพร้อมกันทุกรูปแล้วหัวหน้าสงฆ์นำสวดบทมาติกา ดังนี้ 
คนำสวด นโม ฯลฯ 
คนำสวดบท กสฺลา ธมฺมา ฯลฯ 
คนำสวดบท ปญฺจกฺ ขนฺธา ฯลฯ (เฉพาะงานหลวงหรืองานใหญ่เป็นพิเศษ) 
คนำสวดบท เหตุปจฺจโย ฯลฯ 
เมื่อจบแล้ววางพัด เพื่อให้เจ้าภาพทอดผ้าบังสุกุล 
เมื่อพระสงฆ์สวดจบ เหตุปจฺจโย ฯลฯ ก่อนจบเจ้าภาพพึงลากผ้าภูษาโยง หรือสายโยงจากศพให้ลาดตรงหน้าพระสงฆ์ พอพระสงฆ์สวดจบก็ทอดผ้าลงบนภูษาโยง เท่าจำนวนพระสงฆ์บนอาสนะ 
๔) พอเจ้าภาพทอดผ้าเสร็จ พระสงฆ์ทั้งนั้นพึงตั้งพัดชักบังสุกุล เสร็จแล้วเปลี่ยนมือมาจับด้ามพัดตามแบบสวดอนุโมทนา แล้วพึงอนุโมทนา ด้วยบท 
คยถา ฯลฯ สพฺพีติโย ฯลฯ 
คในงานหลวงหน้าพระที่นั่ง พระราชาคณะถวายอดิเรก 
คอทาสิ เม ฯลฯ 
คภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ 
คในงานหลวงหน้าพระที่นั่ง พระราชาคณะถวายพระพรลา 
เจ้าภาพกรวดน้ำ เมื่อพระสงฆ์ว่า ยถา ฯลฯ พอพระสงฆ์ว่า สพฺพีติโย ฯลฯ พึงพนมมือรับพร 
พิธีสวดแจง 
ในงานฌาปนกิจศพ นิยมจัดให้มีเทศน์สังคีติคาถา หรือที่เรียกกันโดยสามัญว่า เทศน์แจง จะเทศน์ธรรมาสน์เดียว หรือสามธรรมาสน์โดยปุจฉา วิสัชนา ในการนี้นิยมให้มีพระสงฆ์สวดแจงเป็นทำนองการกสงฆ์ ในปฐมสังคายนาด้วย จำนวนพระสงฆ์สวดแจงนี้ ถ้าเต็มที่ก็นับรวมทั้งพระเทศน์ด้วยเต็ม ๕๐๐ รูป เท่าการกสงฆ์ครั้งทำปฐมสังคายนา แต่ในการปฏิบัติจริงอาจลดส่วนพระสวดลงมาเหลือเพียง ๕๐ รูป หรือ ๒๕ รูป อาจจะมากกว่าหรือน้อยกว่านี้ก็มี ถือกันว่าเป็นบุญพิธีพิเศษ ซึ่งอุปถัมภ์ให้พระสงฆ์ได้ทำสังคายนาครั้งหนึ่ง อีกประการหนึ่งก็เป็นอุบายประชุมสงฆ์เพื่อให้งานปลงศพนั้น ๆ คึกคักขึ้นเป็นพิเศษ มีระเบียบดังนี้ 
๑) การสวดแจงและเทศน์แจง จัดให้มีในงานฌาปนกิจก่อนหน้าเวลาฌาปนกิจ ในวัดหรือฌาปนสถาน พึงจัดธรรมาสน์ และอาสนสงฆ์ตามจำนวนที่นิมนต์ 
๒) เมื่อพระสงฆ์ผู้รับนิมนต์เข้าประจำที่เรียบร้อยแล้ว พอพระผู้เทศน์ขึ้นธรรมาสน์เทศน์ เริ่มตั้งแต่นโม เทศน์เป็นต้นไป ทุกรูปพึงประนมมือฟังเทศน์ด้วยความเคารพ เมื่อผู้เทศน์เผดียงให้สวด พึงสวดบทโดยลำดับ ดังนี้ 
คสวดบทนมัสการ นโม ฯลฯ 
คสวดบาลีพระวินัยปิฎก ยนฺเตน ภควตา ฯลฯ 
คสวดบาลี พระสุตตันตปิฎก เอวมฺเม สุตํ ฯลฯ 
คสวดบาลี พระอภิธรรมเจ็ดคัมภีร์ กุสลา ธมฺมา ฯลฯ 
๓) เมื่อเทศน์จบแล้ว รอให้พระสงฆ์ที่สวดแจงบังสุกุลก่อน จบแล้วหากมีไทยธรรมอื่นอีกนอกจากผ้าทอดให้ถวายในระยะนี้ เสร็จแล้วพระผู้เทศน์ตั้งพัด ยถา ฯลฯ อนุโมทนาบนธรรมาสน์นั้น พระสงฆ์ทุกรูปพึงรับ สพฺพีติโย ฯลฯ อทาสิ เม ฯลฯ และ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ พร้อมกัน เป็นอันเสร็จพิธี 
พิธีถวายพรพระ 
ในงานทำบุญเลี้ยงพระต่อเนื่องจากการเจริญพระพุทธมนต์ หรือสวดพระพุทธมนต์ ก่อนถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุในพิธี มีนิยมถวายพรพระเป็นพิธีสงฆ์นำด้วย ถ้างานในวันเดียว การสวดถวายพรพระให้ต่อท้ายพิธีสวดมนต์ แต่ถ้ามีพิธีสวดมนต์หลังเลี้ยงพระ ก่อนฉันพระสงฆ์ก็ต้องทำพิธีสวดถวายพรพระนำก่อนทุกครั้งนี้ เป็นธรรมเนียมในงานทำบุญเลี้ยงพระจะเว้นเสียมิได้ พิธีถวายพรพระตามธรรมเนียมนี้มีอยู่สองอย่าง มีระเบียบพิธีดังนี้ 
การสวดถวายพรพระกรณีสามัญ ใช้ในงานทำบุญทั่วไปทั้งงานมงคล และงานอวมงคล เมื่อพระสงฆ์ขึ้นนั่งยังอาสนะเรียบร้อยแล้ว มีการดำเนินการต่อไปดังนี้ 
๑) เจ้าภาพจุดธูปเทียนหน้าที่บูชา ถ้าทำบุญหน้าศพ ให้จุดธูปเทียนหน้าศพก่อน แล้วอาราธนาศีล 
๒) หัวหน้าสงฆ์แจกสายสิญจน์แล้วตั้งพัด ถ้าเป็นงานทำบุญหน้าศพไม่มีวงสายสิญจน์ ไม่ต้องแจกสายสิญจน์ เริ่มตั้งพัดอย่างเดียวแล้วให้ศีล จบแล้ววางพัดเข้าที่ พระสงฆ์ทุกรูปประนมมือพร้อมกัน ถ้ามีสายสิญจน์ พึงคล้องสายสิญจน์ที่ง่ามนิ้วแม่มือทั้งสอง จากนั้นหัวหน้าสงฆ์นำสวดบทถวายพรพระตามลำดับ ดังนี้ 
คสวด นโม ฯลฯ 
คสวด อิติปิ โส ฯลฯ 
คสวด พาหุ ํ ฯลฯ 
คสวด มหากรุณิโก ฯลฯ 
คสวด ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ 
๓) ถ้ามีพิธีตักบาตรด้วย เช่นในงานฉลองพระบวชใหม่ ในงานทำบุญแต่งงาน เป็นต้น พอพระเริ่มสวดบท พาหุ ํ ฯลฯ เจ้าภาพพึงลงมือตักบาตรในระหว่างนี้ และทุก ๆ งาน จะมีการตักบาตรหรือไม่ก็ตาม พอพระสงฆ์เริ่มสวดบท มหากรุณิโก ฯลฯ ก็ให้เตรียมยกภัตตาหารเข้าประจำที่พระสงฆ์ทันที พอพระสงฆ์สวดจบ เริ่มประเคนพระ หรือเริ่มถวายทานตามนิยม แล้วคอยอังคาสพระสงฆ์ตลอดเวลาที่ฉัน เมื่อพระฉันเสร็จแล้วถวายไทยธรรม พระสงฆ์อนุโมทนา เป็นอันเสร็จพิธี 
ถ้าในงานที่มีพิธีสวดมนต์ก่อนฉัน ฝ่ายพระสงฆ์พึงสวดบทถวายพรพระตั้งแต่บท พาหุ ํ ฯลฯ ต่อท้ายพิธีสวดมนต์ไปจนจบ 
เป็นการผนวกพิธีสวดถวายพรพระเข้าด้วยกันกับพิธีสวดมนต์ 
การสวดถวายพรพระในกรณีพิเศษ ใช้ในงานพระราชพิธีที่ประกอบด้วยพระฤกษ์ เช่น พระฤกษ์โสกันต์ พระฤกษ์เกศากันต์ พระฤกษ์สรงในพระราชพิธีฉัตรมงคล เป็นต้น ระเบียบสวดถวายพรพระก่อนรับพระราชทานฉัน มีดังนี้ 
๑) สังฆการี อาราธนาศีล สมเด็จพระราชาคณะหรือพระราชาคณะเป็นหัวหน้าสงฆ์แจกสายสิญจน์แล้วตั้งพัดถวายศีล 
๒) จบถวายศีลแล้วได้ฤกษ์เจ้าพนักงานลั่นฆ้องชัยประโคมแตรสังข์ พระสงฆ์ทั้งนั้นเริ่มสวด 
คบท ชยนฺโต ฯลฯ หลาย ๆ จบ จนเสร็จพิธี 
คบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ จบแล้วพัก 
พอใกล้เวลาภัตตกิจพึงสวดถวายพรพระตามบท ตั้งแต่ นโม ฯลฯ อิติปิโส ฯลฯ เป็นต้นไปจนจบอีกวาระหนึ่ง แต่ถ้าเวลาฤกษ์อยู่หลังภัตตกิจ ก็ถวายศีล และถวายพรพระอย่างในกรณีสามัญที่กล่าวแล้ว และทำภัตตกิจก่อน เสร็จแล้วได้เวลาพระฤกษ์จึงสวดบท ชยนฺโต ฯลฯ และบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ ในการประกอบพิธีตามพระฤกษ์นั้น แต่การสวดประกอบพระฤกษ์เฉพาะพระฤกษ์หล่อพระ พระฤกษ์ยกยอดพระปราสาท และพระราชมณเฑียร และพระฤกษ์ยกช่อฟ้าโบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ เป็นต้น นอกจากสวดบท ชยนฺโต ฯลฯ และ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ แล้วจะนิยมใช้วิธีสวดอีกแบบหนึ่ง คือ พอเริ่มต้นฤกษ์ก็สวด 
คบท ทิวา ตปฺปติ อาทิจฺโจ ฯลฯ 
คบท ชยนฺโต ตัดเฉพาะขึ้น สุนกฺขตฺตํ ฯลฯ 
คบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ 
นอกนั้นสวดถวายพรพระก่อนภัตตกิจ อย่างเดียวกับที่กล่าวแล้ว 
สำหรับงานประกอบฤกษ์ของสามัญชนทั่วไป เช่นงานมงคลโกนผมไฟ มงคลตัดจุก โดยประเพณีนิยม ถือฤกษ์พระเวลาเช้าเป็นสำคัญ การสวดถวายพรพระของฝ่ายสงฆ์ จึงเท่ากับเป็นการเริ่มต้นฤกษ์ พระสงฆ์พึงดำเนินพิธีไปแทรกโดยลำดับได้จนถึงสวดบท มหาการุณิโก ฯลฯ ให้สวดบทนี้ไปยุติตรงคำว่า โหตุ เต ชยมงฺคลํ เท่านี้ก่อน ถ้ามีฤกษ์โหรประกอบด้วยต้องรออยู่จนได้ฤกษ์ พอพร้อมหรือได้ฤกษ์แล้วพระสงฆ์ก็เริ่มสวดบท ชยนฺโต ฯลฯ ต่อ และสวดบทนี้ไม่น้อยกว่าสามจบ หรือซ้ำอยู่จนพิธีของฝ่ายเจ้าภาพเสร็จ แล้วสวดบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ เป็นอันเสร็จพิธี 
พิธีอนุโมทนากรณีต่าง ๆ 
ธรรมเนียมของพระภิกษุสามเณร เมื่อได้รับปัจจัยลาภจะเป็นภัตตาหารหรือทานวัตถุใด ๆ ก็ตามจากทายกทายิกาแล้ว ต้องทำพิธีอนุโมทนาทานนั้นทุกคราว จะเว้นเสียมิได้ ถือว่าผิดพุทธานุญาต ต่างแต่ว่าอนุโมทนาต่อหน้าหรือลับหลัง ทายกทายิกานั้นเท่านั้น ธรรมเนียมนี้มีมาแต่ครั้งพุทธกาล การอนุโมทนาลับหลังทายกทายิกามีกรณีเดียวคือ การบิณฑบาต แต่กลับมาวัดฉันอาหารบิณฑบาตนั้นแล้ว พึงอนุโมทนา หรือยกไปรวมอนุโมทนาในพิธีทำวัตรสวดมนต์ทุกตอนเช้าและตอนเย็นก็ได้ 
วิธีอนุโมทนา มีนิยมเป็นสองอย่างเรียกว่า สามัญอนุโมทนา และวิเสสอนุโมทนา 
สามัญอนุโมทนา คือการอนุโมทนาที่นิยมใช้กันทั่วไปปกติ มีระเบียบพิธี ดังนี้ 
๑) อนุโมทนาในงานต่าง ๆ ร่วมกันหลายรูป ผู้เป็นหัวหน้าตั้งพัดว่าบท ยถา ฯลฯ ถ้าไม่มีพัดพึงประนมมือว่า 
๒) เมื่อจบบท ยถา ฯลฯ แล้วรูปที่สองนำรับ สพฺพีติโย ฯลฯ 
๓) จบบท สพฺพีติโย ฯลฯ แล้ว หัวหน้านำว่า ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ 
ถ้าอนุโมทนารูปเดียว มีพัดก็ตั้งพัด ว่าตั้งแต่บท ยถา ฯลฯ ติดต่อกันไปเป็นจังหวะ ๆ จนจบบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ถ้าไม่มีพัดก็ประนมมือว่า 
วิเสสอนุโมทนา คือการอนุโมทนาด้วยบทสวดสำหรับอนุโมทนาเป็นพิเศษเฉพาะทาน เฉพาะกาล และเฉพาะเรื่อง ซึ่งบทสวดพิเศษเฉพาะนี้ แทรกสวดระหว่างดำเนินพิธีสามัญอนุโมทนาดังกล่าวแล้ว พอว่าบท สพฺพีติโย ฯลฯ จบก็ว่าบทอนุโมทนาพิเศษขึ้นแทรกต่อ จบแล้วจึงว่าบท ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ เป็นบทสุดท้าย 
บทอนุโมทนาพิเศษ ที่เป็นบทนิยมเฉพาะทาน มีดังนี้ 
๑) อนุโมทนาอาหารบิณฑบาตทั่วไป นิยมใช้บท โภชนทานานุโมทนาคาถา อายุโท พลโธธีโร ฯลฯ บางทีใช้บทมงคลจักรวาฬน้อยทั้งบทขึ้น สพฺพพุทธานุภาเวน ฯลฯ หรือตัดขึ้นตั้งแต่ รตนตฺตยานุภาเวน รตนตฺตยเตชสา ทุกขโรคภายา เวรา ฯลฯ 
๒) อนุโมทนาวิหารแทน คือ โบสถ์ วิหาร ศาลาการเปรียญ โรงเรียน กุฎี เสนาสนะที่อยู่อาศัยของสงฆ์ รวมทั้งเครื่องเสนาสนะ จะอนุโมทนาในคราวถวาย หรือในคราวฉลองก็ตาม นิยมใช้วิหารทานคาถา สีตํ อุณฺหํ ปฏิหนฺติ ฯลฯ 
๓) อนุโมทนาการสร้างปูชนียวัตถุ หรือถาวรวัตถุ ส่วนใดส่วนหนึ่ง เช่น พระพุทธรูป พระสถูป พระเจดีย์ และหนังสือธรรมวินัยถวายวัด ตลอดถึงที่บรรจุอัฐิ และฌาปนสถาน เป็นต้น จะอนุโมทนาในกาลถวายหรือในการฉลองวัตถุดังกล่าวนั้นก็ตาม นิยมใช้บท อัคคัปปสาทสูตร อคฺคโต เว ปสนฺนานํ ฯลฯ หรือ บท นิธิกัณฑสูตร ทั้งสูตรขึ้น นิธิ นิธิเต ปุริโส ฯลฯ หรืออย่างย่อตัดขึ้นตั้งแต่ ยสฺส ทาเนน สีเลน ฯลฯ เป็นต้นไปก็ได้ 
บทวิเสสอนุโมทนาที่นิยมเฉพาะกาล ส่วนมากเกี่ยวด้วยกาลทานโดยเฉพาะ คือในกาลที่ทายกทายิกาถวายผ้าอาบน้ำฝน ผ้าวัสสาวาสิก ตักบาตรน้ำผึ้ง ถวายผ้าอัจเจกจีวร และผ้ากฐิน เหล่านี้นิยมใช้กาลทานสุตตคาถา กาเล ททนฺติ สปญฺญา ฯลฯ ถ้ากาลทานดังกล่าวเป็นของหลวง เช่นในการพระราชทานผ้ากฐิน เป็นต้น ระเบียบการถวายอนุโมทนาทั้งบทสามัญและบทพิเศษ มีดังนี้ 
๑) ตั้งพัดพร้อม หัวหน้าว่าบท ยถา ฯลฯ 
๒) รูปที่สองนำว่า บท สพฺพีติโย ฯลฯ พร้อมกัน 
๓) หัวหน้าสงฆ์ว่านำเฉพาะรูปเดียวด้วยบท เกณิยานุโมทนาคาถา อคฺคิหุตฺตํ มุขา ยญฺญา ฯลฯ 
๔) รูปที่สองนำรับ กาลทานสุตตคาถา กาเล ททนฺติ สปญฺญา ฯลฯ พร้อมกัน 
๕) หัวหน้าสงฆ์ถวายอดิเรก 
๖) รูปที่สองนำรับ ภวตุ สพฺพมงฺคลํ ฯลฯ พร้อมกัน 
สำหรับบทวิเสสอนุโมทนาที่นิยม เฉพาะเรื่อง มีอยู่หลายเรื่องด้วยกันดังนี้ 
๑) อนุโมทนาในงานทำบุญปี ตามที่เคยทำทุกปี นิยมใช้บท อาทิยสุตตคาถา ภุตฺตา โภคา ภตา ภจฺจา ฯลฯ 
๒) อนุโมทนาในงานบุญอายุใหญ่ สวดนพเคราะห์ มีพิธีโหรบูชาเทวดา และในพระราชพิธีสมโภชพระมหาเศวตฉัตร ในงานพระราชพิธีฉัตรมงคล และในงานพระราชพิธีเฉลิมพระชนมพรรษานิยมใช้บท เทวตาทิสสทักขิณานุโมทนาคาถา ยสฺมึ ปเทเส กปฺเปติ ฯลฯ และบท เทวตาภิสัมมันตนคาถา ยานิธ ภูตานิ สมาคตานิ ฯลฯ ต่อกัน ถ้าในงานหรือในพระราชพิธีนั้นมีน้ำมนต์ตั้งเทียนไว้เพื่อให้ทำน้ำพระพุทธมนต์ นิยมสวดบท ปริตตกรณปาฐะ ยาวตา สตฺตา ฯลฯ สำหรับทำน้ำมนต์ ต่อจากบท เทวตาภิสัมมันตนคาถา 
๓) อนุโมทนาในงานทำบุญอายุครบรอบปีธรรมดา นิยมใช้บท โส อตฺถลทฺโธ ฯลฯ สำหรับชาย หรือ สาอตฺถลทฺธา ฯลฯ สำหรับหญิง แล้วต่อด้วยมงคลจักรวาฬน้อย 
๔) อนุโมทนาในงานบรรพชาอุปสมบท หรืองานฉลองพระบวชใหม่รูปเดียวใช้ โส อตฺถลทฺโธ ฯลฯ หลายรูปใช้ เต อตฺถลทฺธา ฯลฯ บทเดียว 
๕) อนุโมทนาในงานมงคลสมรส ใช้บท โส อตฺถลทฺโธ ฯลฯ บทโส อตฺถลทฺธา ฯลฯ และบท เต อตฺถลทฺธา ฯลฯ ควบกันทั้งสามบท ต่อท้ายด้วยมงคลจักรวาฬน้อย 
๖) อนุโมทนาในงานแจกประกาศนียบัตร เป็นต้น ซึ่งร่วมกันหลายคน นิยมใช้บท เต อตฺถลทฺธา ฯลฯ ต่อท้ายด้วยมงคลจักรวาฬน้อย 
๗) อนุโมทนาในงานอวมงคลเกี่ยวด้วยศพ นิยมใช้บท ติโรกุฑฑกัณฑ์ มีแตกต่างกันคือ 
- ถ้าในงานทำบุญหน้าศพ ขึ้น อทาสิ เม อกาสิ เม ฯลฯ 
- ถ้าในงานทำบุญอัฐิ ขึ้น อยญฺ จ โข ทุกฺขิณา ทินนา ฯลฯ 
- ถ้าในงานทำบุญ บุพพเปตพลีทาน เช่นในวันสารท มักใช้สวดเต็ม ขึ้น ติโรกุทฺเทสุ ติฏธนฺติ ฯลฯ หรือจะย่อ ขึ้น อยญฺ จ โข ทกฺขิณา ทินฺนา ฯลฯ ก็ได้ 
พิธีมีพระธรรมเทศนา 
การจัดให้มีพระธรรมเทศนา หรือที่เรียกกันว่า มีเทศน์ คือการแสดงธรรมฟังกันในที่ประชุมตามโอกาสอันควร นับเป็นบุญพิธีที่นิยมสำคัญประการหนึ่ง ส่วนมากนิยมผนวกเข้าในการทำบุญต่าง ๆ ทั้งงานมงคล และงานอวมงคล แม้ไม่ต้องมีงานบุญอะไรก็นิยมจัดให้มีขึ้นตามโอกาสอันควร เช่นจัดให้มีในวัดหรือตามศาลาโรงธรรมประจำในวันธรรมสวนะ และวันอุโบสถ เป็นต้น การมีพระธรรมเทศนาเป็นประเพณีนิยมของพระพุทธศาสนามาแต่ครั้งพุทธกาลถือกันว่า พระพุทธศาสนาจะตั้งอยู่ได้ยั่งยืนก็ด้วยมีการประกาศเผยแผ่พระพุทธธรรมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้า ปัจจุบันมีพระธรรมเทศนาสองอย่างคือ เทศน์ธรรมดาโดยผู้เทศน์แสดงรูปเดียวอย่างหนึ่ง เทศน์ปุจฉา วิสัชนา โดยมีผู้เทศน์ตั้งแต่สองรูปขึ้นไปแสดงร่วมกันเป็นธรรมสากัจฉาอีกอย่างหนึ่ง การมีเทศน์นิยมทำกันสี่ลักษณะ คือ 
การมีเทศน์ในงานบุญ สำหรับงานมงคลส่วนใหญ่นิยมจัดให้มีกันเฉพาะงานเกี่ยวด้วยการฉลองเป็นพื้น นิยมทำเป็นรายการสุดท้ายของงานทำบุญ ถ้าเป็นเทศน์ธรรมดามีได้ท้ายรายการ ทั้งก่อนเพล และหลังเพล เพราะเทศน์ธรรมดาใช้เวลาประมาณครึ่งชั่วโมงถึงหนึ่งชั่วโมง แต่ถ้าเป็นเทศน์ปุจฉา วิสัชนา นิยมมีตอนหลังเพล เพราะเทศน์หลายธรรมาสน์ ใช้เวลาตั้งแต่สองชั่วโมงขึ้นไป ส่วนงานอวมงคล นิยมมีเทศน์ผนวกงานได้ทุกกรณี ทั้งชนิดเทศน์ธรรมดา และเทศน์ปุจฉา วิสัชนา มีระเบียบพิธีดังนี้ 
๑) ฝ่ายเจ้าภาพ อาราธนาพระผู้แสดง แจ้งความประสงค์ว่า จะให้แสดงเรื่องอะไร นิยมทำเป็นหนังสืออาราธนาแบบเดียวกับอาราธนาพระเจริญพระพุทธมนต์ ในวันงานเมื่อการตั้งธรรมาสน์และการอื่น ๆ พร้อมแล้ว เจ้าภาพจุดเทียนใหญ่แล้วนำไปตั้งบนธรรมาสน์ หรือจุดเทียนประจำธรรมาสน์ เป็นสัญญาณเริ่มมีเทศน์ เมื่อพระขึ้นธรรมาสน์เรียบร้อยแล้ว ถ้าเทศน์มีต่อจากพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ หรือสวดมนต์เย็น ต่อเนื่องกัน และการอาราธนาศีลก่อนเริ่มบุญพิธี ได้มีมาแล้วก็ไม่ต้องอาราธนาศีลก่อนเทศน์ เริ่มต้นด้วยอุบาสกอาราธนาธรรม และเริ่มแสดงธรรมเลย แต่ถ้ามีเทศน์ต่อเลี้ยงพระ การมีเทศน์ต่อถือว่าเป็นบุญพิธีตอนใหม่ ให้เริ่มต้นด้วยอุบาสกอาราธนาศีล พระให้ศีลและรับศีล จบแล้วอาราธนาธรรมแล้วจึงเริ่มแสดงธรรม เมื่อจบการแสดงธรรม ถ้ามีสวดธรรมคาถาต่อท้ายในงานศพ เจ้าภาพต้องจุดธูปเทียนบูชาหน้าพระสวดด้วย สวดจบแล้วถวายไทยธรรม พระอนุโมทนาและกรวดน้ำเป็นอันเสร็จพิธีฝ่ายเจ้าภาพ 
๒) ฝ่ายพระผู้เทศน์ เมื่อรับอาราธนาแล้ว พึงเตรียมและจัดการตามสมควร เมื่อถึงวันแสดง จะต้องเตรียมคัมภีร์ใบลาน ห่อผ้าสำหรับห่อ หรือใส่ตู้คัมภีร์กับพัดสำหรับให้ศีลและอนุโมทนาไว้ให้พร้อม เมื่อไปถึงบริเวณงาน มีธรรมเนียมพิธีโบราณอย่างหนึ่งว่า ศิษย์ผู้ติดตามจะต้องแบกคัมภีร์พาดบ่าซ้าย ประคองคัมภีร์ด้านล่างด้วยมือซ้ายอย่างท่าแบกอาวุธของทหาร มือขวาถือพัดตั้งทาบกับตัว ห้อยมือลง เดินนำหน้าพระเข้าสู่บริเวณพิธี ธรรมเนียมนี้ถือกันว่าเป็นการยกย่องพระธรรมให้อยู่หน้าพระสงฆ์ ฝ่ายเจ้าภาพต้องคอยต้อนรับ ถ้ายังไม่ถึงเวลาเทศน์ ให้วางคัมภีร์ไว้ในที่ที่สมควรก่อน หรือจะวางบนธรรมาสน์เลยก็ได้วางไว้ข้างขวาของพระผู้เทศน์ เมื่อได้เวลาเจ้าภาพจุดเทียนประจำธรรมาสน์ พระผู้เทศน์ก็ถือพัดขึ้นธรรมาสน์ วางพัดไว้ข้างซ้าย ปกตินิยมนั่งพับเพียบ แต่จะนั่งขัดสมาธิก็ได้ เมื่อเจ้าภาพกล่าวคำอาราธนาธรรมก็คลี่คัมภีร์แสดงธรรมต่อไป มีระเบียบการแสดงธรรมดังนี้ 
- จับคัมภีร์ใบลานขึ้นประคองระหว่างมือทั้งสองที่ประนมแค่อก แล้วบอกศักราชตามธรรมเนียม ทั้งคำบาลี และคำแปล 
- พอจบคำบอกศักราช ก็ตั้ง นโม เทศน์ คงประนมมืออยู่อย่างเดิม ถ้าเทศน์อ่านคัมภีร์ให้คลี่มือแยกห่างจากกันในขณะ จะตั้ง นโม ครั้งที่สาม แล้วใช้นิ้วแม่มือทั้งสองพลิกใบลานเริ่มอ่าน นิเขปบท ให้ติดต่อกับ นโม ต่อจากนั้นก็อ่านแสดงไปจนจบ 
- เทศน์จบแล้วเก็บใบลานเข้าที่เดิม แล้วตั้งพัดอนุโมทนาด้วยบท ยถา ฯลฯ บนธรรมาสน์ แต่ถ้าเป็นเทศน์งานอวมงคล มีพระสวดรับเทศน์ต่อท้ายไม่ต้องยถา บนธรรมาสน์ถือพัดลงมานั่งอาสนะข้างล่าง รออนุโมทนาเมื่อเจ้าภาพถวายไทยธรรมแล้ว พร้อมกับพระสงฆ์ที่สวดรับเทศน์ เป็นอันเสร็จพิธี 
การเทศน์ปุจฉาวิสัชนา คือ เทศน์สองรูป ผู้อาวุโสให้ศีลและบอกศักราช อีกรูปหนึ่งแสดงอานิสงส์หน้าธรรมาสน์ตามธรรมเนียมแล้วสมมติหน้าที่ ต่อจากนั้นจึงเริ่มเรื่อง ปุจฉาวิสัชนากันจนจบ แล้วรูปปุจฉา หรือรูปอาวุโสสรุปท้ายเทศน์ จบแล้วอีกรูปหนึ่ง ยถา ฯลฯ สพฺพีติโย ฯลฯ เป็นอันเสร็จพิธี 
ถ้าเทศน์มากกว่าสองรูป ให้ผู้เทศน์ตกลงแบ่งหน้าที่ดำเนินพิธีกันก่อนขึ้นธรรมาสน์ 
การมีเทศน์ตามกาลนิยม การมีเทศน์ตามกาลนิยมคือ การเทศน์ในวันธรรมสวนะ และวันสำคัญทางพระพุทธศาสนาเป็นพิเศษ เช่น วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา วันมาฆบูชา และวันอาสาฬหบูชา เป็นต้น การเทศน์ตามกาลนิยมปรกติมีในวัด มีระเบียบพิธีดังนี้ 
๑) เมื่อถึงกำหนดเทศน์ อุบาสกจุดธูปเทียนประจำธรรมาสน์ แล้วพระผู้เทศน์ขึ้นธรรมาสน์ 
๒) ถ้าเป็นการเทศน์กัณฑ์เช้าที่นิยมเรียกกันว่า กัณฑ์อุโบสถ ต้องให้ศีลตามอาราธนา บอกศักราช แต่ถ้าเป็นกัณฑ์บ่าย หรือกัณฑ์ในเวลาอื่น ไม่มีรับศีล และไม่ต้องให้ศีล ไม่ต้องบอกศักราช เพราะถือว่าได้ทำในตอนเช้าแล้ว 
๓) เมื่ออุบาสกอาราธนาธรรมเสร็จ ก็เริ่มพิธีแสดงธรรมต่อไป 
๔) เมื่อเทศน์จบ ถ้าเป็นกัณฑ์อุโบสถ ไม่ต้องอนุโมทนา ถ้าเป็นกัณฑ์อื่นพึงพิจารณาดูตามควร ถ้ามีถวายไทยธรรม พึงอนุโมทนาให้เสร็จบนธรรมาสน์แล้วลง ถ้าไม่มีถวายไทยธรรมจะไม่อนุโมทนาก็ได้ 
การมีเทศน์พิเศษ หมายถึงเทศน์ที่จัดให้มีเป็นพิเศษนอกจากงานบุญ หรือนอกจากที่มีตามกาลนิยม เช่นเทศน์สั่งสอนประชาชน เทศน์อบรมคนเป็นหมู่คณะโดยเฉพาะ และเทศน์ไตรมาสที่มีผู้นิยมจัดตามวัด ตามบ้านหรือตามชุมชนใหญ่ เพื่อฟังกันทุกวันในระหว่างพรรษา เป็นต้น 
การเทศน์มหาชาติ เทศน์มหาชาติ คือ เทศนาเวสสันดรชาดก เป็นบุญพิธีที่นิยมจัดให้มีกันมาแต่โบราณ ส่วนมากจัดให้มีในวัดเป็นหน้าที่ของชาวบ้านและวัดนั้น ๆ จะตกลงร่วมกันจัด ปกตินิยมให้มีหลังฤดูทอดกฐิน ผ่านไปแล้วจนตลอดฤดูเหมันต์ นิยมจัดเป็นงานสองวัน คือ วันเทศน์เวสสันดรชาดกทั้ง ๑๓ กัณฑ์วันหนึ่ง และวันเทศน์จตุราริยสัจจกถา ท้ายเวสสันดรชาดกอีกวันหนึ่ง 
วันแรกเริ่มงานด้วยพิธีทำบุญตักบาตรพระทั้งวัด หรือเลี้ยงพระตามจำนวนที่เห็นสมควร แล้วเริ่มเทศน์เวสสันดรชาดก ตามแบบเทศน์ต่อกันไปจนสุด ๑๓ กัณฑ์ ถึงเวลากลางคืนบางแห่งจัดปีพาทย์ประโคมระหว่างกัณฑ์หนึ่ง ๆ ตลอดทั้ง ๑๓ กัณฑ์ด้วย 
วันรุ่งขึ้น ทำบุญเลี้ยงพระอีกแล้วมีเทศน์ จตุราริยสัจจกถาในระหว่างเพลจบแล้วเลี้ยงพระเพลเป็นอันเสร็จพิธี 
ระเบียบพิธีในการเทศน์มหาชาติ ที่นิยมกันเป็นหลักใหญ่ ๆ ดังนี้ 
๑) ตกแต่งบริเวณพิธีให้มีบรรยากาศคล้ายอยู่ในบริเวณป่า ตามท้องเรื่องเวสสันดรชาดก โดยนำเอา ต้นกล้วย ต้นอ้อย และกิ่งไม้มาผูกตามเสา และบริเวณรอบ ๆ ธรรมาสน์ ประดับธงทิว และ ราวัติ ฉัตร ตามสมควร 
๒) ตั้งขันสาครใหญ่ หรือจะใช้อ่างใหญ่ที่สมควรก็ได้ใส่น้ำสะอาดเต็ม สำหรับปักเทียนบูชาประจำกัณฑ์ ในระหว่างที่พระเทศน์ น้ำในภาชนะที่ตั้งนี้เสร็จพิธีแล้ว ถือว่าเป็นน้ำพระพุทธมนต์ที่สำคัญ ภาชนะใส่น้ำนี้ตั้งหน้าธรรมาสน์ กลางบริเวณพิธี 
๓) เตรียมเทียนเล็ก ๆ จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม แล้วนับแยกจำนวนเป็นมัด มัดหนึ่งมีจำนวนเท่าคาถาของกัณฑ์หนึ่ง แล้วทำเครื่องหมายไว้ให้ทราบ ว่ามัดไหนสำหรับบูชาคาถากัณฑ์ใด เมื่อถึงคราวเทศน์กัณฑ์นั้นก็จะเอาเทียนมัดนั้นออกจุดบูชาติดรอบ ๆ ภาชนะน้ำ ต่อกันไปจนจบกัณฑ์ให้หมดมัดพอดี ครบ ๑๓ กัณฑ์ถ้วน จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม เท่าจำนวนคาถา บางแห่งนิยมทำธงเล็ก ๆ ๑,๐๐๐ คัน แบ่งจำนวนเท่าคาถาประจำกัณฑ์เช่นอย่างเทียน แล้วปักธงบูชาระหว่างกัณฑ์บนหยวกกล้วย แต่การใช้ธงไม่เป็นที่นิยม เช่น เทียน การจุดเทียนหรือปักธงบูชากัณฑ์ดังกล่าวเป็นหน้าที่ของเจ้าภาพผู้รับกัณฑ์นั้น ๆ 
การเทศน์เวสสันดร มีวิธีเทศน์เป็นทำนองโดยเฉพาะ จะต้องได้รับการฝึกอบรมศึกษาต่อท่านผู้ทรงคุณวุฒิทางนี้เป็นพิเศษ ส่วนการเทศน์จตุราริยสัจจกถา มีระเบียบพิธีอย่างเทศน์ในงานดังกล่าวแล้วข้างต้น 
พิธีทำบุญเนื่องด้วยประเพณีในครอบครัว 
พิธีทำบุญเลี้ยงพระ 
การทำบุญเลี้ยงพระ มักนิมนต์พระภิกษุสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ ในสถานที่ ที่ประกอบพิธีในตอนเย็น เรียกกันสามัญว่าสวดมนต์เย็น รุ่งขึ้นเวลาเช้า (บางกรณีเป็นเวลาเพล) ถวายภัตตาหารแก่พระภิกษุที่เจริญพระพุทธมนต์ เรียกกันว่า เลี้ยงพระเช้า (เลี้ยงพระเพล) หรือฉันเช้า (ฉันเพล) และในคราวเดียวกันก็มีการตักบาตรด้วย ถ้ามีเวลาน้อยจะย่นเวลามาทำกันในวันเดียวตอนเช้า หรือในตอนเพลตามสะดวก โดยนิมนต์พระภิกษุสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ก่อน จบแล้วถวายภัตตาหารให้เสร็จสิ้นในห้วงเวลาเดียวกัน 
งานทำบุญเลี้ยงพระนี้นิยมทั้งในงานมงคล และงานอวมงคลทั่วไป มีระเบียบพิธีดังนี้ 
การทำบุญงานมงคล 
เจ้าภาพจะต้องเตรียมกิจการต่าง ๆ ดังนี้ 
๑) อาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ 
๒) เตรียมที่ตั้งพระพุทธรูปพร้อมทั้งเครื่องบูชา และตกแต่งสถานที่บริเวณพิธี คือ 
- วงด้ายสายสิญจน์ เชิญพระพุทธรูปมาตั้งบนที่บูชา ปูลาดอาสนะสำหรับพระสงฆ์เตรียมตั้งเครื่องรับรองพระสงฆ์ และตั้งภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์ 
๓) เมื่อพระสงฆ์มาถึง คอยล้างเท้าให้ และประเคนเครื่องรับรองที่จัดไว้ 
๔) ได้เวลาแล้วจุดธูปเทียนที่โต๊ะบูชา บูชาพระแล้วกราบนมัสการสามครั้ง 
๕) อาราธนาศีล และรับศีล 
๖) อาราธนาพระปริตร เสร็จแล้วไหว้หรือกราบแล้วแต่กรณี 
๗) นั่งฟังพระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ เมื่อจบแล้วถวายน้ำร้อนหรือเครื่องดื่ม อันควรแก่สมณะ 
พิธีฝ่ายพระภิกษุ ควรมีพัดไปด้วยทุกรูป และควรใช้พัดงานมงคล ถ้าไม่สามารถนำพัดไปได้ทุกรูปก็มีไปเฉพาะหัวหน้ารูปเดียว จะขาดเสียมิได้ เพราะพัดจำเป็นต้องใช้ในคราวให้ศีล ขัดสคฺเค และขัดตำนาน อนุโมทนาท้ายพิธี และถ้ามีการบังสุกุลอัฐิประกอบด้วยก็ต้องใช้พัดทุกรูป 
เมื่อไปถึงงาน ขณะขึ้นนั่งบนอาสนะ ให้เข้าที่นั่งกันตามลำดับไว้ระยะให้พองาม นั่งแบบพับเพียบ ให้ได้แถวให้ได้แนว ดุเข่าให้เสมอกัน และนั่งอย่างผึ่งผาย เข้าที่แล้ววางพัดไว้ข้างหลังด้านขวามือ 
เมื่อเจ้าภาพเริ่มอาราธนาศีล ผู้เป็นหัวหน้าพึงคลี่กลุ่มสายสิญจน์ แล้วส่งต่อกันไปจนถึงรูปสุดท้าย พออาราธนาศีลถึงวาระที่สามว่า ตติยมฺปิ ฯลฯ ผู้เป็นหัวหน้าพึงตั้งพัดเตรียมให้ศีล การจับพัดให้จับด้วยมือขวาที่ด้ามคอพัดต่ำลงมา ๔ - ๕ นิ้ว หรือกะว่าจับตรงส่วนที่สามตอนบนของด้ามพัด ใช้มือกำด้ามพัดด้วยนิ้วทั้งสี่เว้นนิ้วหัวแม่มือ เฉพาะนิ้วแม่มือยกขึ้นแตะด้ามพัดให้ทาบตรงขึ้นไป นำสายสิญจน์ขึ้นพาดไว้บนนิ้วชี้ ตั้งพัดให้ตรงหน้าปลายด้านอยู่ตรงกึ่งกลาง อย่าให้ห่างตัวหรือชิดตัวนัก และอย่าตั้งนอกสายสิญจน์ หน้าพัดหันออกด้านนอก ให้พัดตั้งตรงได้ฉาก ทั้งซ้ายขวา หน้าหลัง พอจบคำอาราธนาศีลก็ตั้ง นโม ฯลฯ ให้ศีลทันที ให้ไปถึงตอนจบไตรสรณาคมน์ ไม่ต้องว่า ติสรณคมนํ นิฏฺฐิตํ เพราะคำนี้ใช้เฉพาะในพิธีสมาทานศีลจริง ๆ เช่น สมาทานศีลอุโบสถ พึงให้ศีลต่อไตรสรณาคมน์ พอให้ศีลจบก็วางพัด 
เมื่อเจ้าภาพอาราธนาพระปริตรถึงครั้งที่สาม รูปที่ต้องขัด สคฺเค เตรียมตั้งพัด พออาราธนาจบก็เริ่มขัดได้ พอขัดจบ พระสงฆ์ทุกรูปยกสายสิญจน์ขึ้นประนมมือพร้อมกัน ใช้ง่ามนิ้วมือทั้งสองรับสายสิญจน์ไว้ในระหว่างประนมมือ แล้วหัวหน้านำว่า นโมและสวดมนต์บทต่าง ๆ ไปตามแบบนิยม 
ในการเจริญพระพุทธมนต์งานมงคลทุกแบบ มีตั้งภาชนะน้ำมนต์ไว้ด้วย เพื่อให้พระสงฆ์ทำน้ำมนต์ในขณะสวด ซึ่งเป็นหน้าที่ของหัวหน้าสงฆ์ เจ้าภาพจะจุดเทียนน้ำมนต์ตั้งแต่พระสงฆ์เริ่มสวดมงคลสูตร พอสวดรตนสูตรถึงตอน ขีณํ ปุราณํ นวํ นตฺถิ สมฺภวํ ฯลฯ หัวหน้าสงฆ์พึงใช้มือขวาปลดเทียนน้ำมนต์ ออกจากที่ปักไว้ แล้วจับเทียนกับสายสิญจน์เอียงเทียนให้น้ำตาเทียนหยดลงในน้ำ พร้อมกับสวดพอสวดถึงคำว่า นิพฺ ในคำว่า ปทีโป จึงยกขึ้น แล้ววางหรือติดเทียนไว้ตามเดิม เป็นอันเสร็จพิธีทำน้ำมนต์ ต่อจากนั้นจึงสวดมนต์ต่อไปจนจบ 
ถ้าเจ้าภาพประสงค์ให้มีการพรมน้ำพระพุทธมนต์ต่อท้าย จะต้องเตรียมสิ่งสำหรับพรมคือ หญ้าคา หรือก้านมะยม มัดไว้เป็นกำ การใช้ก้านมะยมนิยมใช้เจ็ดก้านมัดรวมกัน ในการพรมน้ำพระพุทธมนต์ ควรเป็นหน้าที่ของผู้เป็นหัวหน้าสงฆ์ในพิธีนั้น การพรมพึงจับกำหญ้าคา หรือก้านมะยม ใช้มือขวากำรอบด้วยนิ้วทั้งสี่ เว้นนิ้วชี้ให้ชี้ตรงไปตามกำหญ้าคา หรือกำก้านมะยม มีอาการอย่างชี้นิ้ว เป็นการแสดงปกาสิตของพระสงฆ์ จุมปลายกำหญ้า หรือกำก้านมะยมลงในน้ำพระพุทธมนต์อย่าให้โชกนัก แล้วสะบัดให้น้ำพระพุทธมนต์ออกไปข้างหน้า ขณะเริ่มพรม พระสงฆ์ที่เหลือควรสวดบท ชยนฺโต ฯลฯ พร้อมกัน 
การทำบุญงานอวมงคล 
การทำบุญเกี่ยวกับเรื่องการตาย นิยมทำกันอยู่สองอย่าง ทำบุญหน้าศพ ที่เรียกกันว่า ทำบุญเจ็ดวัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน หรือทำบุญวันปลงศพอย่างหนึ่ง และทำบุญอัฐิ หรือทำบุญปรารภการตายของบรรพบุรุษ หรือผู้หนึ่งผู้ใดในวันคล้ายวันตายของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว อีกอย่างหนึ่ง มีระเบียบที่พึงปฏิบัติดังนี้ 
งานทำบุญหน้าศพ มีพิธีฝ่ายเจ้าภาพและฝ่ายภิกษุสงฆ์ ดังนี้ 
๑) อาราธนาพระสงฆ์สวดพระพุทธมนต์ นิยม ๘ รูป หรือ ๑๐ รูป หรือกว่านั้นแล้วแต่กรณี 
๒) ไม่ต้องวงด้าย คือไม่ต้องตั้งภาชนะน้ำสำหรับทำน้ำมนต์ และไม่มีการวงด้ายสายสิญจน์ 
๓) เตรียมสายโยง หรือภูษาโยง ต่อจากศพไว้เพื่อใช้บังสุกุล สายโยงนั้นก็ใช้ด้ายสายสิญจน์นั่นเอง ถ้าไม่ใช้สายสิญจน์ก็ใช้ทำเป็นแผ่นผ้าแทนเรียกว่า ภูษาโยง ดังที่ของหลวงใช้อยู่ การเดินสายโยงหรือภูษาโยง จะโยงในที่สูงกว่าพระพุทธรูปที่ตั้งในพิธีไม่ได้ และจะปล่อยให้ลาดมากับพื้นดิน หรือนั่งก็ไม่เหมาะ เพราะสายโยงนี้ เป็นสายที่ล่ามโยงออกมาจากกระหม่อมของศพ เป็นสิ่งเนื่องด้วยศพจึงต้องล่ามหรือให้สมควร 
๔) เมื่อพระสงฆ์มาถึงแล้ว เจ้าภาพจุดธูปเทียนที่โต๊ะบูชา และจุดธูปเทียนที่หน้าศพ 
๕) หลังจากพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว นิยมให้มีการบังสุกุล แล้วจึงถวายไทยธรรม เมื่อพระสงฆ์อนุโมทนา พึงกรวดน้ำอุทิศส่วนกุศลต่อไป 
๖) การสวดมนต์ของพระสงฆ์ มีระเบียบนิยมเหมือนกัน ต่างกันแต่ตอนกลาง มีนิยมเฉพาะงาน ดังนี้ 
- ทำบุญเจ็ดวัน สวดอนัตตลักขณสูตร 
- ทำบุญศพ ๕๐ วัน สวดอาทิตตปริยายสูตร 
- ทำบุญศพ ๑๐๐ วัน หรือทำบุญวันปลงศพสวดธรรมนิยามสูตร 
- ทำบุญศพในวาระอื่น จะสวดสูตรอื่นใด นอกจากที่กล่าวนี้ก็ได้ แล้วแต่เจ้าภาพประสงค์ แต่มีธรรมเนียมอยู่ว่า ไม่สวดเจ็ดตำนาน สิบสองตำนาน ธรรมจักร มหาสมัย 
๗) ในการสวดมีระเบียบปฏิบัติคือ เมื่อให้ศีล และเจ้าภาพอาราธนาพระปริตรแล้วไม่ต้องขัด สคฺเค ทุกรูปประนมมือพร้อมกันแล้ว หัวหน้านำสวด 
- นมการปาฐะ (นโม ฯลฯ) 
- สรณคมนปาฐะ (พุทฺธํ สรณํ คจฺฉามิ ฯลฯ) 
- ปัพพโตปมคาถาและอริยธนคาถา (ยถาปิ เสสา ฯลฯ) 
พอจบตอนนี้ พระสงฆ์ทั้งหมดลดมือลงแล้วรูปที่นั่งอันดับสามตั้งพัด ขัดบทขัดของสูตรที่กำหนดสวดตามงานดังกล่าวแล้ว เมื่อขัดจบวางพัด ทุกรูปประนมมือพร้อมกัน หัวหน้านำสวดสูตรที่ขัดนำนั้น จบสูตรแล้วนำสวดบทท้ายสวดมนต์ของงานอวมงคลคือ 
- ปฏิจจสมุปบาท (อวิชฺชาปจฺจยา สงฺ ขารา ฯลฯ) 
- พุทธอุทานคาถา (อทา หเว ฯลฯ ) 
- ภัทเทกรัตตคาถา (อตีตํ มานฺวาดเมยฺย ฯลฯ) 
- ภวตุ สพฺพมงฺคลํ 
ถ้าสวดธรรมนิยามสูตร ใช้สวดติลักขณาทิคาถา (สพฺเพ สงฺขารา อนิจฺจาติ ฯลฯ เต โลเก ปรินิพฺพุตาติ) ก่อนสวดปฏิจจสมุปบาท 
๕) เมื่อสวดมนต์แล้ว ถ้ามีการชักผ้าบังสุกุลต่อท้าย เจ้าภาพจะลากสายโยง หรือภูษาโยง แล้วทอดผ้า พอทอดถึงรูปสุดท้าย พระสงฆ์ก็ตั้งพัดพร้อมกัน การตั้งพัดในพิธีชักบังสุกุลให้ใช้มือซ้ายจับพัด แล้วใช้มือขวาจับผ้าบังสุกุล การจับผ้าให้จับหงายมือใช้นิ้วมือทั้งสี่นิ้ว เว้นนิ้วแม่มือสอดเข้าใต้ผ้าที่ชักใช้นิ้วแม่มือจับบนผ้า อย่าจับคว่ำมือหรือเพียงใช้นิ้วแตะ ๆ ที่ผ้าเป็นอันขาด เมื่อจับพร้อมกันทุกรูปแล้ว เริ่มว่าบทชักบังสุกุล (อนิจฺจา วต สงฺขารา ฯลฯ) พร้อมกัน จบแล้วชักผ้าออกจากสายโยงหรือภูษาโยงวางไว้ตรงหน้า 
ข้อความที่กล่าวมานี้เป็นงานที่เจ้าภาพทำสองวัน คือสวดมนต์วันหนึ่ง เลี้ยงพระอีกวันหนึ่ง ถ้าเป็นงานวันเดียวให้สวดมนต์ก่อนฉัน ในการสวดมนต์นั้น เมื่อสวด ภัทเทกรัตตคาถา จบแล้วให้สวดถวายพรพระต่อไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธีสวดมนต์ 
ในกรณีที่มีเพียงสวดมนต์ ไม่มีการเลี้ยงพระ ไม่ต้องสวดบทถวายพรพระ เมื่อพระสงฆ์รับไทยธรรมแล้ว ในการอนุโมทนาด้วย บทวิเสสอนุโมทนา พึงใช้บท อทาสิ เม ฯลฯ เพราะศพยังปรากฏอยู่ 
งานทำบุญอัฐิ เจ้าภาพพึงจัดเตรียมทำนองเดียวกันกับงานทำบุญหน้าศพ ต่างแต่เพียงงานนี้เป็นงานทำบุญหน้าอัฐิ หรือรูปของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว เจ้าภาพต้องเตรียมที่ตั้งอัฐิ หรือที่ตั้งรูประลึกนั้น ๆ ต่างหาก จากโต๊ะบูชา ให้มีดอกไม้ตั้งหรือประดับพองาม และตั้งกระถางธูปกับเชิงเทียน หนึ่งคู่ที่หน้าโต๊ะ หรือรูปนั้นด้วยเพื่อบูชา จะใช้พานหรือกระบะเครื่องห้าสำหรับบูชาแทนก็ได้ 
พิธีฝ่ายพระภิกษุสงฆ์ ส่วนใหญ่ก็พึงปฏิบัติเช่นเดียวกับงานทำบุญหน้าศพ ต่างแต่การสวดมนต์ นิยมใช้สูตรอื่น จากอนัตตลักขณสูตร 
การทำบุญงานมงคล และข้อปฏิบัติบางประการ 
พิธีอย่างย่อคือการทำบุญตักบาตร ในการทำบุญเลี้ยงพระมีเรื่องที่พึงปฏิบัติ ดังนี้ 
๑) การอาราธนาพระสงฆ์มาเจริญพระพุทธมนต์ ไม่จำกัดจำนวนข้างมาก แต่นิยมกำหนดจำนวนข้างน้อยไว้โดยเกณฑ์ คือไม่ต่ำกว่าห้ารูป เกินขึ้นไปก็เป็นเจ็ดรูป หรือเก้ารูป ไม่นิยมพระสงฆ์จำนวนคู่ เพราะถือว่าการทำบุญครั้งนี้มีพระพุทธเจ้าเป็นประธานแบบเดียวกับครั้งพุทธกาล โดยตั้งพระพุทธรูปไว้ข้างหน้าแถวพระสงฆ์ นับจำนวนรวมกับพระสงฆ์เป็นคู่ เว้นแต่ในงานมงคลสมรส มักนิยมนิมนต์พระสงฆ์จำนวนคู่ แต่ในพิธีหลวงปัจจุบัน มักอาราธนาพระสงฆ์เป็นจำนวนคู่ 
๒) การเตรียมที่ตั้งพระพุทธรูปพร้อมทั้งเครื่องบูชา ที่ตั้งพระพุทธรูปพร้อมทั้งเครื่องบูชาในงานพิธีต่างนิยมเรียกว่า โต๊ะบูชา โต๊ะบูชาประกอบด้วยโต๊ะรอง และเครื่องบูชา โต๊ะรองเป็นที่ตั้งพระพุทธรูปและเครื่องบูชา ที่นิยมใช้เป็นโต๊ะหมู่ ซึ่งสร้างไว้โดยเฉพาะเรียกกันว่า โต๊ะหมู่บูชา มีหมู่ห้า หมู่เจ็ด และหมู่เก้า หมายความว่าหมู่หนึ่ง ๆ ประกอบด้วยโต๊ะห้าตัว เจ็ดตัว และเก้าตัว ถ้าหาโต๊ะหมู่ไม่ได้จะใช้ตั่งหรือโต๊ะอะไรที่สมควรก็ได้ มีหลักสำคัญอยู่ว่าต้องใช้ผ้าขาวปูก่อน ถ้าจะใช้ผ้าสีก็ต้องเป็นผ้าสะอาด ที่ยังไม่ได้ใช้งานอย่างอื่นมาก่อน 
การตั้งโต๊ะบูชามีหลักว่า ต้องหันหน้าโต๊ะออกไปทางเดียวกับพระสงฆ์ สำหรับทิศทางที่จะประดิษฐานพระพุทธรูป มักให้ผินพระพักตร์ไปทางทิศเหนือ ด้วยถือว่าพระพุทธเจ้าเป็นโลกอุดร หรือมิฉะนั้นก็ให้หันหน้าไปทางทิศตะวันออก ก็ถือว่าเป็นทิศที่พระพุทธเจ้าประทับนั่งผินพระพักตร์ไปทางทิศตะวันออกในคืนวันตรัสรู้ 
การตั้งเครื่องบูชา ถ้าเป็นโต๊ะเดี่ยว เครื่องบูชาควรมีแจกันประดับดอกไม้หนึ่งคู่ ตั้งสองข้างพระพุทธรูป หน้าพระพุทธรูปตั้งกระถางธูปกับเชิงเทียนหนึ่งคู่ เชิงเทียนตั้งตรงกับแจกัน สำหรับโต๊ะหมู่มีการตั้งเชิงเทียนมากกว่าหนึ่งคู่ แจกันดอกไม้มากกว่าหนึ่งคู่ และมีพานดอกไม้ตั้งเป็นคู่และอยู่กลางหนึ่งพาน 
๓) การวงด้ายสายสิญจน์ คำว่าสิญจน์แปลว่าการรดน้ำ สายสิญจน์ทำด้วยด้ายดิบ โดยวิธีจับด้ายในเข็ด สาวชักออกเป็นห่วง ๆ สาวชักออกมาเป็นห่วง ๆ ให้สัมพันธ์เป็นสายเดียวกัน จากด้ายในเข็ดเส้นเดียวจับออกครั้งแรกเป็นสามเส้น ม้วนเข้ากลุ่มไว้ ถ้าต้องการให้สายใหญ่ก็จับอีกครั้งหนึ่ง จะกลายเป็นเก้าเส้นในงานมงคลทุกประเภท นิยมใช้สายสิญจน์เก้าเส้น 
การวงสายสิญจน์ มีเกณฑ์ถืออยู่ว่า ถ้าเป็นบ้านมีรั้วรอบ ให้วงรอบรั้ว ถ้าไม่มีรั้วรอบหรือมีแต่กว้างเกินไป ก็ให้วงเฉพาะอาคารพิธีโดยรอบ ถ้าไม่ต้องการวงสายสิญจน์รอบรั้ว หรือรอบอาคาร จะวงสายสิญจน์ที่ฐานพระพุทธรูปบนโต๊ะบูชาเท่านั้น แล้วโยงมาที่ภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์ก็ได้ พึงวางกลุ่มด้ายสายสิญจน์ไว้บนพานสำหรับรองสายสิญจน์ ซึ่งอยู่ทางหัวอาสนะสงฆ์ใกล้ภาชนะสำหรับทำน้ำมนต์ การวงสายสิญจน์ถือหลักวงจากซ้ายไปขวา ของสถานที่หรือวัตถุ ขณะที่วงสายสิญจน์อย่าให้สายสิญจน์ขาด สายสิญจน์ที่วงพระพุทธรูปแล้วจะข้ามกรายไม่ได้ หากมีความจำเป็นที่จะต้องผ่าน ให้ลอดมือหรือก้มศีรษะลอดใต้สายสิญจน์ 
๔) การปูลาดอาสนะสำหรับพระสงฆ์ นิยมใช้กันอยู่สองวิธีคือ ยกพื้นอาสนะสงฆ์ให้สูงขึ้น โดยใช้เตียงหรือม้าวางต่อกันให้ยาวพอแก่จำนวนสงฆ์ อีกวิธีหนึ่งปูลาดอาสนะบนพื้นธรรมดา จะใช้เสื่อหรือผ้าที่สมควรปู ข้อสำคัญคืออย่าให้อาสนะพระสงฆ์กับที่นั่งของคฤหัสถ์เป็นอันเดียวกัน ควรปูลาดให้แยกจากกัน ถ้าปูเสื่อหรือพรมไว้เต็มห้อง ควรให้ผ้าขาวหรือผ้านิสีทนะก็ได้ปูทับลงไปอีกชั้นหนึ่ง 
๕) การเตรียมเครื่องรับรองพระสงฆ์ ตามแบบและตามประเพณีก็มีหมากพลู บุหรี่ น้ำร้อน น้ำเย็น กระโถน การวางเครื่องรับรองเหล่านี้ ต้องวางทางด้านขวามือของพระ วางกระโถนข้างในสุดเพราะไม่ต้องประเคนถัดออกมาเป็นภาชนะน้ำเย็น ถัดออกมาอีกเป็นภาชนะใส่หมากพลู บุหรี่ ซึ่งรวมอยู่ในที่เดียวกัน เมื่อพระสงฆ์นั่งก็ประเคนของตั้งแต่ข้างในออกมาข้างนอก 
๖) การตั้งภาชนะทำน้ำมนต์ ถ้าไม่มีครอบน้ำมนต์ จะใช้บาตรพระหรือขันน้ำพานรองแทนก็ได้ แต่ขันต้องไม่ใช่ขันเงินหรือขันทองคำ หาน้ำสะอาดใส่ในภาชนะน้ำมนต์ ห้ามใช้น้ำฝน ใส่น้ำเพียงค่อนภาชนะ ควรจะหาใบเงินใบทองใส่ลงไปด้วยเล็กน้อย หรือจะใช้ดอกบัวแทนก็ได้ ต้องมีเทียนน้ำมนต์หนึ่งเล่ม ควรเป็นเทียนขี้ผึ้งแท้ขนาดหนักหนึ่งบาทเป็นอย่างต่ำติดที่ขอบภาชนะ ไม่ต้องจุด เอาไปวางไว้ข้างหน้าโต๊ะบูชา ให้ค่อนมาทางอาสนะพระสงฆ์ ใกล้กับรูปที่เป็นหัวหน้า จะได้ทำพิธีได้สะดวก 
๗) การจุดธูปเทียนที่โต๊ะบูชา และที่ทำน้ำมนต์ เจ้าภาพควรเป็นผู้จุดธูปเทียนที่โต๊ะบูชา ควรจุดเทียนก่อน โดยจุดด้วยไม้ขีดไฟ หรือเทียนชนวน อย่าต่อจากไฟอื่น เมื่อเทียนติดแล้วใช้ธูปสามดอกจุดต่อที่เทียนจนติดดีจึงปักธูปตรง ๆ ในกระถางธูป 
ต่อจากนั้นจึงเริ่มพิธีไปตามลำดับ คืออาราธนาศีล รับศีล อาราธนาพระปริตร จบแล้วพระสงฆ์เริ่มสวดมนต์ ทุกคนที่อยู่ในพิธีพึงนั่งประนมมือ ฟังพระสวดด้วยความเคารพ พอพระเริ่มสวดมงคลสูตรขึ้นต้นบท อเสวนา จ พาลานํ เจ้าภาพพึงเข้าไปจุดเทียนน้ำมนต์ แล้วประเคนบาตร หรือครอบน้ำมนต์นั้น ต่อหัวหน้าพระสงฆ์ 
๘) ข้อปฏิบัติในวันเลี้ยงพระ ถ้าเป็นงานสองวันพึงจัดอย่างวันสวดมนต์เย็น เมื่อพระภิกษุสงฆ์มาพร้อมแล้ว เจ้าภาพพึงจุดธูปเทียนเครื่องนมัสการบูชาพระ แล้วอาราธนาศีลรับศีลเช่นเดียวกับวันก่อน ไม่ต้องอาราธนาพระปริตร พระสงฆ์จะเริ่มสวดถวายพรพระเอง ก็มีการตักบาตรด้วย พึงเริ่มลงมือตักบาตรขณะพระสงฆ์สวดถึงบท พาหํ และให้เสร็จก่อนพระสวดจบ เตรียมยกบาตร และภัตตาหารมาตั้งไว้ให้พร้อม พระสวดจบก็ประเคนให้พระฉันได้ทันที ถ้าไม่มีตักบาตร เจ้าภาพก็นั่งประนมมือฟังพระสวดไปจนจบ 
ถ้าเป็นงานวันเดียว คือสวดมนต์ก่อนฉัน ควรตระเตรียมต่าง ๆ คงจัดครั้งเดียว พระภิกษุสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ก่อน แล้วสวดถวายพรพระต่อท้าย เจ้าภาพพึงนั่งประนมมือฟัง เมื่อพระสงฆ์สวดบทถวายพรพระจบ ก็ยกภัตตาหารประเคนได้ 
เมื่อพระสงฆ์ฉันเสร็จแล้ว ถวายเครื่องไทยธรรม พระสงฆ์อนุโมทนา ขณะพระว่าบท ยถา ฯลฯ ให้เริ่มกรวดน้ำให้เสร็จก่อนจบบท พอพระว่าบท สพฺพีติโย ฯลฯ พร้อมกันพึงประนมมือรับพรไปจนจบ เป็นอันเสร็จพิธี 
การเลี้ยงพระในพิธีทำบุญเลี้ยงพระ มีประเพณีโบราณสืบเนื่องกันมานานคือ ประเพณีถวายข้าวพระพุทธ ถ้ามีตักบาตรก็ต้องตั้งบาตรพระพุทธไว้หัวแถวด้วย ข้าวพระพุทธที่ถวายนั้นนิยมจัดอย่างเดียวกันกับที่ถวายพระสงฆ์ เมื่อเสร็จภัตกิจแล้วข้าวพระพุทธนั้นตกเป็นของมรรคทายกวัด หรืออุบาสกอุบาสิกาในงาน การถวายนี้เป็นหน้าที่ของเจ้าภาพ พึงใช้ผ้าขาวปูบนโต๊ะที่จะนำมาตั้งรองข้าวพระพุทธตรงหน้าโต๊ะบูชา แล้วตั้งสำรับคาวหวานพร้อมทั้งข้าวน้ำให้บริบูรณ์ เสร็จแล้วจุดธูปสามดอก ปักในกระถางธูปหน้าโต๊ะบูชา นั่งคุกเข่าประนมมือตรงหน้าที่ตั้งข้าวพระพุทธและโต๊ะบูชา ว่า นโมสามจบ แล้วว่าคำถวายดังนี้ อิมํ สูปพยยญฺชนสมฺปนฺนํ ,สาลีนํ โอทนํ , อุทกํ วรํ พุทฺธสฺส ปูเชมิ จบแล้วกราบสามครั้ง ต่อนี้จึงจัดถวายภัตตาหารแก่พระสงฆ์ตามวิธีที่กล่าวมาแล้ว เมื่อเสร็จภัตกิจ และพระสงฆ์อนุโมทนาแล้ว เป็นหน้าที่ของอุบาสกหรืออุบาสิกา จะลาข้าวพระพุทธนั้นมารับประทาน ผู้ลาข้าวพระพุทธพึงเข้าไปนั่งคุกเข่าหน้าสำรับที่หน้าโต๊ะบูชา กราบสามครั้ง ประนมมือกล่าวคำว่า เสสํ มงฺคลา ยาจามิ แล้วไหว้ต่อนั้นยกข้าวพระพุทธออกไปได้ 
ประเพณีเกี่ยวกับการตาย 
มีพิธีทำบุญ เรียกว่า ทำบุญงานอวมงคล คืองานทำบุญหน้าศพ และงานทำบุญอัฐิ เพื่ออุทิศส่วนกุศลให้แก่ผู้ถึงแก่กรรมไปแล้ว ประเพณีเกี่ยวกับการตายได้แก่ การจัดการศพ การสวดพระอภิธรรม การทำบุญเจ็ดวัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน การฌาปนกิจ และการทำบุญอัฐิ หรือการทำบุญในวันคล้ายวันตายของผู้ที่ล่วงลับไปแล้ว 
การจัดการศพ การจัดการศพเริ่มจากการอาบน้ำศพ การตั้งศพ การสวดพระอภิธรรม พิธีเหล่านี้นิยมทำที่บ้านของผู้ตาย แต่ปัจจุบันในเมืองนิยมทำที่วัด 
การอาบน้ำศพเป็นพิธีทำความสะอาดศพ ถ้าถึงแก่กรรมที่โรงพยาบาลทางโรงพยาบาลจะทำความสะอาดตกแต่งศพมาแล้ว เจ้าภาพเพียงแต่เปลี่ยนเครื่องแต่งกายให้ศพ แล้วจัดพิธีรดน้ำศพ โดยจัดศพวางบนตั่ง ยื่นมือขวาของศพไว้บนพาน ผู้ที่มารดน้ำศพรดน้ำอบน้ำหอมลงบนมือศพ เป็นการขอขมา เวลารดน้ำศพควรคลุมศพด้วยผ้าขาว หรือผ้าอย่างอื่น หากเป็นผู้ที่ได้รับพระราชทานน้ำหลวงอาบศพ ผู้อื่นตลอดเจ้าภาพจะรดน้ำศพก่อน เมื่อประธานในพิธีรดน้ำอาบศพพระราชทานแล้ว ก็จะมีการบรรจุศพลงหีบเลยทีเดียว 
เมื่อบรรจุศพลงหีบแล้ว ก็จะจัดการตั้งศพเพื่อสวดพระอภิธรรม นิยมสวดสามคืน ห้าคืน เจ็ดคืน แล้วจะจัดการเก็บศพ หรือทำการฌาปนกิจ ก่อนเก็บศพหรือฌาปนกิจ หรือเมื่อครบเจ็ดวัน ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน หรือในวันคล้ายวันถึงแก่กรรมของผู้นั้น เจ้าภาพจะมีการทำบุญเลี้ยงพระในตอนเช้า หรือตอนเพล แล้วอาจมีเทศน์หลังจากทำบุญเลี้ยงพระ จะมีการบังสุกุลอุทิศส่วนกุศลแก่ผู้ตายทุกครั้ง 
พิธีทำบุญเจ็ดวัน นิยมนิมนต์พระสงฆ์เจ็ดรูปเท่านั้น เพราะถือว่าเป็นงานอวมงคล การจัดไทยทานก็จัดเจ็ดที่ และในที่บางแห่งอาจมีการจัดสังฆทานประเภท มตกภัตต์ด้วย คือบรรจุสิ่งของต่าง ๆ ที่เป็นของแห้งใส่ลงในชามอ่าง กะละมัง หรือกระบุง พอพระสงฆ์ฉันภัตตาหารเสร็จแล้วจึงถวาย ใช้คำถวาย ดังนี้ 
อิมานิ มยํ ภนฺเต มตกภตฺตานิ สปริวารานิ ภิกขุ สงฺฆสฺส โอโณชยามะ สาธุโน ภนฺเต ภิกฺขุ สงฺโฆ มตกภตฺตานิ สปริวารานิ ปฏิคฺคนฺหาตุ อมฺหากญฺเจว มาตาปิตุ อาทีนญฺจ ญาตถานํ ฑีฆรตฺตํ หิตาย สุขาย ฯ 
พิธีทำบุญ ๕๐ วัน ๑๐๐ วัน หรือวันครบรอบวันตายของผู้ตาย นิยมนิมนต์พระสงฆ์ ๑๐ รูป และนิยมทอดผ้าบังสุกุลด้วย 
การฌาปนกิจศพ งานฌาปนกิจศพจะทำวันเดียวหรือสองวันก็ได้ ถ้าทำวันเดียวก็จะมีการตั้งศพ แล้วสวดพระอภิธรรมกลางคืนนั้น รุ่งเช้าถวายภัตตาหาร หรือทำบุญเลี้ยงพระเช้าหรือเพลแล้วมีเทศน์ หลังจากเทศน์ก็จัดการฌาปนกิจ 
พิธีฌาปนกิจ จะเริ่มขึ้นเมื่อได้มีการสวดพระอภิธรรม ทำบุญเลี้ยงพระ เทศน์ แล้วเมื่อถึงเวลาก็เชิญศพขึ้นเมรุ หรือ ฌาปนสถาน การเคลื่อนศพขึ้นสู่เมรุ มีการนำศพเวียนซ้ายรอบเมรุสามรอบ แล้วจึงนำศพขึ้นตั้งบนเมรุ พอใกล้เวลาฌาปนกิจก็เริ่มพิธีการทอดผ้าบังสุกุลที่ศพ โดยเชิญแขกผู้ใหญ่ หรือเจ้าภาพเองเป็นผู้ทอดผ้า แล้วนิมนต์พระสงฆ์ขึ้นชักบังสุกุล เสร็จแล้วก็ถึงพิธีประชุมเพลิง มักจะเชิญแขกผู้ใหญ่หรือญาติผู้ใหญ่เป็นผู้จุดเพลิงเป็นคนแรก ถ้าเป็นศพที่ได้รับพระราชทานเพลิงศพ ประธานในพิธีจะเป็นผู้จุดเพลิงพระราชทาน โดยการวางดอกไม้ขมาศพของพระราชพิธีก่อนแล้วจุดเพลิง หลังจากนั้นผู้เข้าร่วมพิธีก็เข้าจุดเพลิงตามลำดับ 
หลังจากเผาจริงเสร็จ หรือในเช้าวันรุ่งขึ้น ก็จะมีพิธีเก็บอัฐิ ซึ่งเจ้าหน้าที่ของวัดจะเป็นผู้ช่วยเหลือ ทำพิธีให้แก่เจ้าภาพจนเสร็จ ในสมัยก่อนหรือศพเจ้านายในปัจจุบัน ในพิธีเก็บอัฐิ จะมีพิธีเดินสามหาบด้วย 
การทำบุญอัฐิ หลังจากพิธีเก็บอัฐิแล้ว ก็จะมีพิธีทำบุญอัฐิ 
ข้อปฏิบัติและปกิณกพิธีบางประการ 
วิธีแสดงความเคารพพระ 
พระที่ควรแก่การเคารพได้แก่พระพุทธรูป หรือปูชนียวัตถุ มีพระสถูปเจดีย์เป็นต้น และพระภิกษุผู้ทรงเพศอุดมกว่าตน การแสดงความเคารพดังกล่าวนี้ มีอยู่สามวิธีด้วยกันคือ การประณมมือไหว้ การไหว้ และการกราบ 


ประณมมือ ตรงกับภาษาบาลีว่า อัญชลี คือการกระพุ่มมือทั้งสองขึ้นประณม ให้ฝ่ามือทั้งสองประกบกัน นิ้วมือทุกนิ้วของทั้งสองมือแนบชิดตรงกัน ไม่เหลื่อมกัน ตั้งกระพุ่มมือทั้งที่ประณมไว้ระหว่างอก ให้ตั้งตรงขึ้นข้างบนมีลักษณะคล้ายดอกบัวตูม แนบศอกทั้งสองข้างชิดชายโครง เป็นการแสดงความเคารพเวลาสวดมนต์ หรือฟังพระสงฆ์สวดมนต์ และเวลาฟังเทศน์ แสดงอย่างเดียวกันทั้งหญิง และชาย 

ไหว้ ตรงกับคำบาลีว่า นมัสการ คือการยกมือที่ประณมแล้วขึ้นพร้อมกับก้มศีรษะลงเล็กน้อย ให้มือที่ประณมจดหน้าผาก นิ้วหัวแม่มือทั้งสองอยู่ระหว่างคิ้ว ใช้แสดงความเคารพพระในขณะที่นั่งเก้าอี้ หรือยืนอยู่ไม่ใช่นั่งราบกับพื้น แสดงอย่างเดียวกันทั้งชายและหญิง 

กราบ ตรงกับคำบาลีว่า อภิวาท คือการแสดงอาการกราบลงบนพื้นด้วยเบญจางคประดิษฐ์ ได้แก่การกราบทั้งองค์ห้า ให้หน้าผาก ฝ่ามือทั้งสอง และเข่าทั้งสองจดพื้น เมื่อกราบอย่างนี้พึงนั่งคุกเข่า ประณมมือไหว้ แล้วหมอบลง ทอดฝ่ามือทั้งสองที่พื้น เว้นช่องระหว่างฝ่ามือให้ห่างกันเล็กน้อย ก้มศีรษะลงตรงช่องนั้นให้หน้าผากจดพื้น เป็นอันครบองค์ห้า 
การกราบแบบนี้ ชายพึงคุกเข่าตั้งฝ่าเท้าชัน ใช้นิ้วเท้ายันพื้น นั่งทับลงบนส้นเท้าทั้งคู่ ผายเข่าออกเล็กน้อยให้ได้ฉากกันเป็นรูปสามเหลี่ยม แล้วประณมมือ นั่งอย่างนี้เรียกว่า นั่งท่าพรหม เวลากราบก็ยกมือขึ้นไหว้ แล้วก้มตัวลงปล่อยมือให้ทอดกับพื้น ให้ศอกต่อกันกับเข่าตรงกันทั้งสองข้าง แล้วก้มลงให้หน้าผากจดพื้น อยู่ระหว่างฝ่ามือทั้งสอง 
สำหรับหญิง พึงนั่งคุกเข่าราบ คือไม่ตั้งฝ่าเท้ายันอย่างชาย แต่เหยียดฝ่าเท้าราบไปทางหลัง ให้ปลายเท้าทั้งสองทับกันเล็กน้อย แล้วนั่งทับบนฝ่าเท้าทั้งสองนั้นให้ราบกับพื้นให้เข่าทั้งสองชิดกัน ประณมมือ นั่งอย่างนี้เรียกว่า นั่งท่าเทพธิดา ขณะกราบก็ยกมือที่ประณมอยู่ขึ้นไหว้ แล้วก้มตัวลงปล่อยมือให้ทอดกับพื้น ให้ข้อศอกพับทั้งสองข้างขนาบเข่าพับทั้งสองไว้ ไม่ใช่ให้ศอกต่อเข่าแบบชาย แล้วก้มลงให้หน้าผากจรดพื้น อยู่ระหว่างมือทั้งสอง เวลาก้มลงกราบอย่าให้ก้นกระดกขึ้นจึงจะงาม 
วิธีประเคนของพระ 
การประเคนของพระ คือการถวายของให้พระได้รับถึงมือ ของที่ประเคนนั้นต้องเป็นของที่คนเดียวพอยกได้ ไม่มีวัตถุอนามาศ คือ เงิน ทอง หรือของกะไหล่ด้วยเงินแท้ หรือทองแท้ปนอยู่ด้วย เพราะเป็นของไม่เหมาะของพระภิกษุที่จะรับได้ ถ้าเป็นของขบฉันต้องประเคนได้เฉพาะในกาล นอกกาลคือเวลาวิกาลตั้งแต่เที่ยงไปแล้ว จนถึงย่ำรุ่งวันใหม่ ไม่ควรนำมาประเคน 
วิธีประเคนพึงปฏิบัติ ดังนี้ 

สำหรับชาย พึงนั่งคุกเข่าหรือยืนตามความเหมาะสมแก่สถานที่ ยกสิ่งของนั้นด้วยมือทั้งสองข้าง น้อมสิ่งของนั้นเข้าไปใกล้พระภิกษุผู้รับประเคนยกของให้พ้นจากพื้น ส่งถวายถึงมือพระผู้รับประเคน เมื่อถวายเสร็จแล้วพึงไหว้หรือกราบทุกครั้ง 

สำหรับหญิง พึงยืนหรือนั่งพับเพียบตามความเหมาะสมแก่สถานที่ แล้วยกสิ่งของนั้นด้วยมือทั้งสอง น้อมเข้าไปใกล้พระภิกษุผู้รับประเคนพอสมควร วางบนผ้าที่พระภิกษุทอดรับประเคนนั้น จะส่งถวายให้ถึงมือพระภิกษุแบบผู้ชายไม่ได้ และระวังรอให้พระภิกษุจับชายผ้าที่ทอดรับประเคนนั้นเสียก่อน แล้วจึงวางของที่จะประเคนลงบนผ้าผืนนั้น เมื่อถวายเสร็จแล้วพึงไหว้ หรือกราบทุกครั้ง 
ข้อพึงระวังคือ สิ่งของที่ประเคนแล้วนั้นห้ามฆราวาสไปจับต้อง หากไปจับต้องถือว่าเป็นการขาดประเคน ต้องประเคนของนั้นใหม่ จึงจะไม่เกิดโทษแก่สงฆ์ 
ลักษณะของการประเคนที่ถูกต้อง มีดังนี้ 
๑) ของที่ประเคนต้องไม่ใหญ่โต หรือหนักมากเกินไป พอขนาดคนเดียวยกได้ และต้องยกของนั้นพ้นพื้นที่ของนั้นวางอยู่ 
๒) ผู้ประเคนต้องเข้ามาในหัตบาส คือผู้ประเคนต้องอยู่ห่างจากพระภิกษุผู้รับประเคน ประมาณ หนึ่งศอก 
๓) ผู้ประเคนน้อมสิ่งของนั้นเข้ามาให้ด้วยอาการแสดงความเคารพ 
๔) กิริยาที่น้อมสิ่งของมาให้นั้น จะส่งให้ด้วยมือก็ได้ หรือจะตักส่งให้ด้วยของเนื่องด้วยกาย เช่น ใช้ทัพพีตักถวายก็ได้ 
๕) พระภิกษุผู้รับประเคน จะรับด้วยมือใดก็ได้ จะทอดผ้ารับก็ได้ หรือจะเอาภาชนะรับ เช่น เอาบาตรหรือจานรับของที่เขาตักถวายก็ได้ 
หลักสำคัญของการประเคน ต้องแสดงออกด้วยความเคารพ ไม่เลือกไสให้หรือทิ้งให้โดยไม่เคารพ 
วิธีทำหนังสืออาราธนา และทำใบปวารณาถวายจตุปัจจัย 
การอาราธนาพระสงฆ์ คือการนิมนต์พระสงฆ์ไปประกอบพิธีต่าง ๆ ต้องทำให้เป็นกิจจะลักษณะ แต่เดิมใช้อาราธนาด้วยวาจาเป็นพื้น แต่ปัจจุบันนิยมทำหนังสืออาราธนา ความมุ่งหมายก็เพื่อแจ้งกำหนดงาน และรายการให้พระสงฆ์ทราบ หนังสืออาราธนาพระสงฆ์เรียกกันว่า ฎีกานิมนต์พระ มีข้อความที่เป็นตัวอย่าง ดังนี้ 
"ขออาราธนาพระคุณเจ้า (พร้อมด้วยพระภิกษุสงฆ์ในวัดอีก ....รูป) เจริญพระพุทธมนต์ (หรือสวดพระพุทธมนต์ หรือ 
แสดงพระธรรมเทศนา) ในงาน......ที่บ้านเลขที่.......ตำบล........อำเภอ.........กำหนดวันที่....... เดือน........... พ.ศ....... เวลา........ น." 
ในการถวายไทยธรรมแก่พระภิกษุสงฆ์ที่นิมนต์มาประกอบพิธีต่าง ๆ นิยมถวายค่าจตุปัจจัยเป็นพิเศษ จากไทยธรรมอีกส่วนหนึ่งด้วย การถวายจตุปัจจัย นิยมทำใบปวารณาถวายเพื่อให้พระภิกษุได้รับค่าจตุปัจจัยนั้นโดยชอบด้วยพระวินัย ใบปวารณามีแบบนิยม ดังนี้ 
"ขอถวายจตุปัจจัยอันควรแก่สมณบริโภค แด่พระคุณเจ้า เป็นจำนวน............ บาท...... สตางค์ หากพระคุณเจ้าต้องประสงค์สิ่งใด อันควรแก่สมณบริโภคแล้ว ขอได้โปรดเรียกร้องกับปิยการถผู้ปฏิบัติของพระคุณเจ้า เทอญ" 
วิธีอาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร และอาราธนาธรรม 
การอาราธนาคือ การเชื้อเชิญให้พระภิกษุสงฆ์ในพิธีให้ศีล ให้สวดพระปริตรหรือให้แสดงธรรม เป็นธรรมเนียมที่มีมาแต่เดิม 
ที่จะต้องอาราธนาก่อน พระภิกษุสงฆ์จึงจะประกอบพิธีกรรมนั้น ๆ 
วิธีอาราธนา นิยมกันว่า ถ้าพระสงฆ์นั่งบนอาสนะยกสูง เจ้าภาพและแขกที่นั่งเก้าอี้ ผู้อาราธนาจะเข้าไปยืนระหว่างเจ้าภาพกับแถวพระสงฆ์ ตรงกับรูปที่สามหรือที่สี่ ห่างจากแถวพระสงฆ์พอสมควร หันหน้าไปทางโต๊ะบูชา ประณมมือไหว้พระพุทธรูปก่อน แล้วยืนประณมมือกล่าวคำ อาราธนาตามแบบที่ต้องการ ถ้าพระสงฆ์นั่งอาสนะต่ำ เจ้าภาพและแขกที่นั่งกับพื้น ผู้อาราธนาต้องเข้าไปนั่งคุกเข่าต่อหน้าแถวพระสงฆ์ตรงหัวหน้า กราบพระพุทธรูปที่โต๊ะบูชาสามครั้งก่อน แล้วประณมมือกล่าวคำอาราธนาที่ต้องการตามแบบคือ 
พิธีสวดมนต์เย็น อาราธนาศีล อาราธนาพระปริตร 
พิธีเลี้ยงพระ อาราธนาศีล 
พิธีถวายทานทุกอย่าง อาราธนาศีล 
พิธีเทศน์ ถ้าเทศน์ต่อจากสวดมนต์ ตอนสวดมนต์ไม่ต้องอาราธนาศีล เริ่มต้นด้วยอาราธนาพระปริตร แล้วอาราธนาศีลตอนพระขึ้นเทศน์ รับศีลแล้วอาราธนาธรรมต่อ แต่ถ้าสวดมนต์กับเทศน์ไม่ได้ต่อเนื่องกัน ถือว่าเป็นคนละพิธี ตอนสวดมนต์ก็อาราธนาตามแบบพิธีสวดมนต์เย็นดังกล่าวแล้ว ตอนเทศน์ให้เริ่มอาราธนาศีลก่อน จบรับศีลแล้วจึงอาราธนาธรรม 
พิธีสวดศพต่าง ๆ ถ้าไม่มีพิธีอื่นนำหน้าให้อาราธนาศีลก่อน ถ้ามีพิธีอื่นนำหน้าไม่ต้องอาราธนาศีล 
คำอาราธนาศีลห้า 
มยํ ภนฺเต วิสุ ํ วิสุ ํ รกขณตฺ ถาย, ติสรเนน สห , ปญฺจ สีลานิ ยาจาม 
ทุติยมฺปิ มยํ ภนฺเต วิสุ ํ วิสุ ํ รกขณตฺ ถาย , ติสรเนน สห , ปญฺจ สีลานิ ยาจาม 
ตติยมฺปิ มยํ ภนฺเต วิสุ ํ วิสุ ํ รกขณตฺ ถาย , ติสรเนน สห , ปญฺจ สีลานิ ยาจาม 
คำอาราธนาพระปริตร 
วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธิยา สพฺพทุกฺขวินาสาย ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ 
วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธิยา สพฺพภยวินาสาย ปริตฺตํ พฺรูถ มงฺคลํ 
วิปตฺติปฏิพาหาย สพฺพสมฺปตฺติสิทธิยา สพฺพโรควินาสาย ปริตตํ พฺรูถ มงฺคลํ 
คำอาราธนาธรรม 
พฺรหมา จ โลกาธิปติ สหมฺปติ กตฺ อญฺชลี อนฺธวรํ อยาจถ 
สนฺตีธ สตฺ ตาปฺ ปรชกฺขชาติกา เทเสตุ ธมฺมฺ อนุกมฺปิมํ ปชํ 
วิธีกรวดน้ำ 
การกรวดน้ำ อุทิศส่วนกุศล ต้องคำนึงถึงประเพณีที่มีมาแต่โบราณกาลด้วย วิธีที่นิยมคือ เริ่มต้นเตรียมน้ำสะอาดใส่ภาชนะไว้พอสมควร พอพระสงฆ์เริ่มอนุโมทนาด้วยบท ยถา ฯลฯ ก็เริ่มกรวดน้ำโดยตั้งใจนึกอุทิศส่วนบุญ มือขวาจับภาชนะรินน้ำใช้มือซ้ายประคอง แล้วว่าบทกรวดน้ำในใจไปจนจบ การหลั่งน้ำกรวดถ้าเป็นพื้นดิน ควรหลั่งลงในที่สะอาดหมดจด ถ้าอยู่บนเรือนหรือสถานที่ที่มิใช่พื้นดิน ต้องหาภาชนะอื่นที่สมควร เช่น ถาดหรือขันน้ำมารองน้ำที่กรวดไว้ แล้วจึงนำไปเทลงบนพื้นดินตรงที่สะอาด อย่าใช้ภาชนะที่สกปรกและไม่ควรเป็นอันขาด เพราะน้ำที่กรวดเป็นสักขีพยานในการทำบุญ 
คำกรวดน้ำ ที่นิยมว่ากันทั่วไปมีอยู่สามแบบ คือ แบบสั้น แบบย่อ และแบบยาว ว่าเฉพาะคำบาลีเท่านั้น ดังนี้ 
คำกรวดน้ำแบบสั้น 
อิทํ เม ญาตีนํ โหตุ (ว่าสามหน) 
ขอบุญนี้จงสำเร็จแก่ญาติทั้งหลายของข้าพเจ้าเถิด 
หากจะเติมพุทธภาษิตว่า สุขิตา โหนฺตุ ญาตโย ก็ได้ 
คำกรวดน้ำแบบย่อ เรียกว่า คาถาติโลกวิชัย 
ยงฺกิญฺจิ กุสลํ กมฺมํ กตฺตพฺพํ กิริยํ มม 
กาเยน วาจามนสา ติทเส สุคตํ กตํ 
เย สตฺตา สญฺญิโน อตฺถิ เย จ สตฺตา อสญฺญิโน 
กตํ ปุญฺญผลํ มยฺหํ สพฺเพ ภาคี ภวนฺตุ เต 
เย ตํ กตํ ุวิทิตํ ทินฺนํ ปุญฺญผลํ มยา 
เย จ ตตฺถ น ชานนฺติ เทวา คนฺตวา นิเวทยุ ํ 
สพฺเพ โลกมฺหิ เย สตฺตา ชีวนฺตาหาร เหตุกา 
มนุญฺญํ โภชนํ สพฺเพ ลภนฺต มม เจตสา 
กุศลกรรมที่เป็นกิริยาควรทำอันหนึ่งด้วยกาย วาจาใจ อันจะเป็นเหตุนำไปให้เกิดในสวรรค์ชั้นไตรทศเทพ ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว ขอสัตว์ซึ่งมีสัญญาและไม่มีสัญญาทุกหมู่เหล่า จะเป็นผู้มีส่วนได้รับผลบุญที่ข้าพเจ้าได้ทำแล้วนั้น เหล่าสัตว์ที่ไม่รู้ผลบุญที่ข้าพเจ้ากระทำแล้ว ขอจงเป็นผู้มีส่วนได้รับผลบุญที่ข้าพเจ้าอุทิศให้ ในบรรดาสรรพสัตว์จำพวกใดไม่รู้ข่าว ถึงบุญที่ข้าพเจ้าได้ทำแล้ว ขอเทพพยาดาทั้งหลาย จงนำไปบอกแก่สัตว์จำพวกนั้น ขอสัตว์ทุกหมู่ในชีวโลก ซึ่งเสพอาหารเป็นเครื่องเลี้ยงชีพ จงได้เสวยซึ่งโภชนะอันพึงใจ ด้วยอำนาจเจตนาอุทิศของข้าพเจ้านี้เถิด ฯ 
คำกรวดน้ำแบบยาว 
อิมินา ปุญฺญกมฺเมน อุปชฺฌายา คุณุต์ตรา 
อาจริยูปการา จ มาตา ปิตา จ ญาตกา (ปิยา มมํ) 
สุริโย จนฺทิมา ราชา คุณวนฺตา นราปิ จ 
พฺรหมมารา จ อินฺท จ โลกปาลา จ เทวตา 
ยโม มิตฺตา มนุสฺสา จ มชฺฌตฺตา เวริกาปิ จ 
สพฺเพ สตฺตา สุขี โหนฺตุ ปุญฺญานิ ปกตานิ เม 
สุขญฺจ ติวิธํ เทนฺตุ ขิปปํ ปาเปถ โว มตํ 
อิมินา ปุญฺญกมฺเมน อิมินา อุทฺทิเสน จ 
ขิปฺปาหํ สุลเภ เจว ตณฺหุปาทานเฉทนํ 
เย สนฺตาเน หินา ธมฺมา ยาว นิพฺพานโต มมํ 
นสฺสนฺตุ สพฺพทา เยว ยตฺถ ชาโต ภเว ภเว 
อุชุจิตฺตํ สติปญฺญา สลฺเลโข วิริยมฺหินา 
มารา ลภนฺตุ โนกาสํ กาตุญฺจ วิริเยส เม 
พุทฺธาธิปวโร นาโถ ธมฺโม นาโถ วรุตฺตโม 
นาโถ ปจฺเจพุทฺโธ จ สงฺโฆ นาโถตฺตโร 
เตโสตฺตมานุภาเวน มาโรกาสํ ลภนฺตุ มา 
ด้วยผลบุญที่ข้าพเจ้ากระทำนี้ ขอพระอุปัชฌาย์ผู้มีพระคุณอันยิ่งใหญ่ไพศาล อีกทั้งอาจารย์ผู้ได้สั่งสอนข้าพเจ้ามา ทั้งมารดาบิดาและคณาญาติทั้งสิ้น ตลอดจนพระอาทิตย์ พระจันทร์ และพระเจ้าแผ่นดินผู้เป็นใหญ่ในเอกเทศแห่งเมทนีดล และนรชนผู้มีคุณงามความดีทั้งหลายทุกถิ่นฐาน อีกท้าวมหาพรหมกับหมู่มาร และท้าวมัฆวานเทวราช ทั้งเทพเจ้าผู้รักษาโลกทั้งสี่ทิศ และพญายมราช อีกมวลมิตรสหาย ทั้งผู้ขวนขวายวางตนเป็นกลาง และผู้เป็นศัตรูของข้าพเจ้าทุก ๆ เหล่า จงมีความเกษมสุขนิราศภัย ขอบุญที่ข้าพเจ้ากระทำไว้ด้วยไตรทวาร จงบันดาลให้สำเร็จไตรพิชสุข ถึงความเกษมปราศจากทุกข์ คือ พระอมตมหานฤพานโดยพลัน อีกโสตหนึ่งนั้น ด้วยกรรมนี้และอุทิศเจตนานี้ ขอให้ข้าพเจ้าบรรลุทันทีซึ่งการตัดขาดตัณหา อุปาทาน ธรรมอันชั่วในสันดานจงพินาศไปหมด จนตราบเท่าถึงนิพพานสิ้นกาลทุกเมื่อ แม้ว่าข้าพเจ้ายังท่องเที่ยวไปเกิดในภพใด ๆ ก็ขอให้มีจิตซื่อตรงดำรงสติปัญญาไวชาญฉลาด ให้มีความเพียรกล้า สามารถขัดเกลากิเลส ให้สูญหาย ขอหมู่มารเหล่าร้าย อย่าได้กล้ำกรายสบโอกาส เพื่อทำให้ข้าพเจ้าพินาศคลายความเพียรได้ อนึ่งไซร้ พระพุทธเจ้าผู้เป็นที่พึ่งอันยิ่งอย่างประเสริฐ พระธรรมเป็นที่พึ่งอันล้ำเลิศยิ่งประมาณ พระปัจเจกพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งอันไพศาล และพระสงฆ์เป็นที่พึ่งอันอุดมยิ่งประมาณของข้าพเจ้านี้ ด้วยอานุภาพอันอุดมดี พิเศษสูงสุดของพระรัตนตรัย ขออย่าให้หมู่มารได้โอกาสทุกเมื่อไป เทอญ ฯ 
วิธีบอกศักราช 
การแสดงพระธรรมเทศนาในงานทำบุญทุกกรณี ยกเว้นที่แสดงตามกาลในวันธรรมสวนะ นิยมให้ผู้แสดงธรรมบอกศักราช คือ บอก วัน เดือน ปี ของวันนั้น ก่อนเริ่มเทศน์ จุดมุ่งหมายก็เพื่อให้พุทธบริษัทได้ทราบปฏิทิน เพราะในสมัยก่อนปฏิทินรายวันไม่มีแพร่หลาย 
วิธีบอกศักราชให้บอกเป็นภาษาบาลีก่อน แล้วแปลเป็นภาษาไทย ดังนี้ 
อิมานิ ตสฺส ภควโต อรหโต สมฺมา สมฺพุทฺธสฺส ปรินิพฺพานโต ปฏฺฐาย จตุตฺตรปญฺจสตาธิกานิ , เทฺว สํวจฺฉรสหสฺสานิ อติกฺกนฺตานิ , ปจฺจุปนฺนกาลวเสน อสฺสยุชมาสสฺส เตวีสติมํ ทินํ วารวเสน ปน จนฺทวาโร โหติ , เอวํ ตสฺส ภควโต ปรินิพฺพานา , สาสนายุกาลคณนา สลฺลกฺเขตพฺพาติ ฯ 
ศุภมัสดุ พระพุทธศาสนายุกาล จำเดิมแต่ปรินิพพานแห่งองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้านั้น บัดนี้ล่วงแล้วสองพันห้าร้อยสี่พรรษา ปัจจุบันสมัย ตุลาคมมาส สุรทินที่ ยี่สิบสาม วันนี้ จันทรวาร ศานายุกาล แห่งองค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้าพระองค์นั้น มีนัยอันพุทธบริษัทจะพึงกำหนดนับด้วยประการ ฉะนี้ ฯ 
หลักการเปลี่ยนคำตาม วัน เดือน ปี สำหรับคำบาลีมีที่ต้องเปลี่ยนสีแห่งตามอักษรสีแดง ให้รู้ไว้ในแบบ 
๑) คำบอกจำนวนศักราช ถ้าจำนวนท้าย พ.ศ.เลื่อนไป ต้องเปลี่ยนดังนี้ 
ปญฺจจุตฺตร (๐๕) ฉฬุตฺตร (๐๖) สตฺตุตตร (๐๗) อฏฺฐุตฺตร (๐๘) นวุตฺตร (๐๙) ทสุตฺตร (๑๐) เอกาทสุตฺตร (๑๑) ทฺวาทสุตฺตร (๑๒) เตวสุตฺตร (๑๓) จตุทฺทสุตฺตร (๑๔) ปณฺนรสุตฺตร (๑๕) โสฬสุตฺตร (๑๖) สตฺตรสุตฺตร (๑๗) อฏฺฐารสุตฺตร (๑๘) อูนวีสุตฺตร (๑๙) วีสุตฺตร (๒๐) ตึสุตฺตร (๓๐) จตฺตาวีสุตฺตร (๔๐) ปณฺณาสุตฺตร (๕๐) สฏฺฐยุตฺตร (๖๐) สตฺตตฺยุตฺตร (๗๐) อสีตยุตฺตร (๘๐) นวุตยุตฺตร (๙๐) 
จำนวนในระหว่างสิบ ต่อจากยี่สิบไป มีหลักเปลี่ยนคล้ายกันคือ เอ็ดเติมเอก สองเติม ทวา สามเติม เต สี่เติม จตุ ห้าเติม ปญฺจ หกเติม ฉ เจ็ดเติม สตฺต แปดเติม อฏฺฐ ทั้งนี้ให้เติมเข้าข้างหน้าจำนวนครบสิบนั้น ๆ เช่น 
ยี่สิบเอ็ด (เอกวีสุตฺตร) สามสิบสอง (ทฺวตฺตึสุตฺตร) สี่สิบสาม (เตจตฺตาฬีสุตฺตร) ห้าสิบสี่ (จตุปณฺณาสุตฺตร) หกสิบห้า (ปณฺจสฏฺฐยุตฺตร) เจ็ดสิบหก (ฉสตฺตตฺยุตฺตร) แปดสิบเจ็ด (สตฺตาสีตยุตฺตร) เก้าสิบแปด (อฏฺฐนวุตฺตร) 
ส่วนจำนวนครบเก้าในระหว่างสิบให้เติมอูน หน้าจำนวนครบสิบข้างหน้าทุกจำนวน เช่น ยี่สิบเก้า เป็น อูนตึสุตฺตร สามสิบเก้าเป็น อูนจตฺตาฬีสุตฺตร เป็นต้น 
๒) การบอกเดือน ในตัวอย่างใช้สำหรับเดือนตุลาคม ถ้าเป็นเดือนอื่นก็เปลี่ยนไป มีหลักการเปลี่ยนดังนี้ 
เดือนมกราคม (ปุสฺส) เดือนกุมภาพันธ์ (มาฆ) เดือนมีนาคม (ผคฺคุณ) เดือนเมษายน (จิตฺต) เดือนพฤษภาคม (วิสาข) เดือนมิถุนายน (เชฏฺฐ) เดือนกรกฎาคม (อาสาฬฺห) เดือนสิงหาคม (สาวน) เดือนกันยายน (โปฏฺฐปทฺ หรือภทฺทปท) เดือนตุลาคม (อสฺสยุช) เดือนพฤศจิกายน (กตฺติก) เดือนธันวาคม (มิคสิร) 
พึงเปลี่ยนชื่อตามที่ต้องการใส่ไปหน้าคำ มาสสฺส 
๓) คำบอกวันที่ของเดือนนั้น ต้องเปลี่ยนไปตามปฏิทินให้ตรงตามวันที่ที่ต้องการ หลักในการเปลี่ยนจำนวนวัน มีดังนี้ 
วันที่หนึ่ง (ปฐมํ) วันที่สอง (ทุติยํ) วันที่สาม (ตติยํ) วันที่สี่ (จตุตฺถํ) วันที่ห้า (ปญฺจมํ) วันที่หก (ฉฏฐํ) วันที่เจ็ด (สตฺตมํ) วันที่แปด (อฏฐมํ) วันที่เก้า (นวมํ) วันที่สิบ (ทสมํ) วันที่สิบเอ็ด (เอกาทสมํ) วันที่สิบสอง (ทฺวาทสมํ) วันที่สิบสาม (เตรสมํ) วันที่สิบสี่ (จตุรสมํ) วันที่สิบห้า (ปณฺณเรสมํ) วันที่สิบหก (โสฬสมํ) วันที่สิบเจ็ด (สตฺตรสมํ) วันที่สิบแปด (อฏฺฐารสมํ) วันที่สิบเก้า (อูนวีสติมํ) วันที่ยี่สิบ (วีสติมํ) วันที่ยี่สิบเอ็ด (เอกวีสติมํ) วันที่ยี่สิบสอง (ทฺวาวีสติมํ) วันที่ยี่สิบสาม (เตวีสติมํ) วันที่ยี่สิบสี่ (จตุวีสติมํ) วันที่ยี่สิบห้า (ปญฺจวีสติมํ) วันที่ยี่สิบหก (ฉพฺพีสติมํ) วันที่ยี่สิบเจ็ด (สตฺตวีสติมํ) วันที่ยี่สิบแปด (อฏฺฐวีสติมํ) วันที่ยี่สิบเก้า (อูนตึสติมํ) วันที่สามสิบ (ตึสติมํ) วันที่สามสิบเอ็ด (เอกตึสติมํ) 
๔) คำบอกวารในเจ็ดวาร เพื่อให้รู้ว่าวันนั้น ๆ ตรงกับวารอะไร ต้องเปลี่ยนชื่อวารทั้งเจ็ดให้ถูกต้องมีหลักกำหนดไว้ ดังนี้ 
วันอาทิตย์ (รวิวาโร) วันจันทร์ (จนฺทวาโร) วันอังคาร (ภุมฺมวาโร) วันพุธ (วุธวาโร) วันพฤหัสบดี (ครุวาโร) วันศุกร์ (สุกฺกวาโร) วันเสาร์(โสรวาโร) 



Webboardแสดงความคิดเห็น
เยี่ยม   แย่   แย่   แย่   เขิน   หยอกล้อ  ตกใจ  ร้องไห้   สงสัย   ขอโทษ   หดหู่   อย่าน่ะ   ต่อว่า   โอเค
รูปภาพ
(นามสกุลไฟล์ควรเป็น [ jpg , jpeg , gif ] และไฟล์ไม่เกิน 3 MB.)
*ชื่อ
*สถานะ  
*อีเมล
ลิงค์ที่เกี่ยวข้อง
*รหัสยืนยัน

หมายเหตุ : : กรุณากรอกข้อมูลที่มี * ทุกช่อง

view

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

รวมรูปภาพ

ติดต่อเรา

view