จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ-จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-จำหน่าย และพิมพ์หนังสือธรรมะและบทสวดมนต์ราคาโรงพิมพ์ธรรมทาน-จำหน่ายพระพุทธรูป หิ้งพระ และของตกแต่งห้องพระ จัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ ................................................
/music/.mp3 http://www.trilakbooks.com
สร้างเว็บไซต์Engine by iGetWeb.com

หน้าแรก

รายชื่อหนังสือ

พระพุทธรูป

TIKTOK เฟอร์นิเจอร์

LOAD

กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น-พิมพ์100เล่มขึ้นไปแทรกข้อความขาวดำฟรี1หน้า

พิมพ์หนังสือธรรมะ,พิมพ์หนังสือสวดมนต์,หนังสือที่ระลึก

คัมภีร์ปาฏิโมกข์-แผ่นพับทุกแบบ

งานพุทธศิลป์-อุปกรณ์ตกแต่งภายใน

หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก

สาระ-หนังสือพระไตรปิฎก-ฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย

หนังสือพระไตรปิฎก-ที่มีความสำคัญไม่แพ้กันกับ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับเต็ม

อานิสงส์ของการฟังธรรม5ประการ

การสังคายนาเป็นเหตุให้เกิดพระไตรปิฎก

การสวดปาฏิโมกข์คืออะไร

พระวินัยของสงฆ์ในหนังสือพระไตรปิฎก

พุทธประวัติ ในยุคต้นๆ ในพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

อรรถกถา คืออะไร มีความสัมพันธ์กับ พระไตรปิฎกอย่างไร

หนังสือพระไตรปิฎก และ หนังสือพุทธธรรม มีความสัมพันธ์กันอย่างไร

พระไตรปิฎก เป็นฐานของสรรพวิชา 6 แขนง

พระไตรปิฎก หมายถึงอะไร แนวทางการศึกษาพระไตรปิฎก ขอบเขตความรู้ในพระไตรปิฎก

เคล็ดลับอายุยืนจากพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..เป็นอย่างไร?

พระไตรปิฎกคืออะไร

ความสำคัญและการรักษาพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับพระไตรปิฎก

สาระดี

บัณฑิต ตามพุทธวิธี ความสัมพันธ์กับพระไตรปิฎก

พระผู้ทรงมหากรุณา ไม่มีสิ้นสุด คือ พระปัญญาญาณ ของ พระพุทธเจ้า

ประวัติ-องค์ท้าวเวสสุวรรณ-และการบูชา

อุปสรรคที่สำคัญในชีวิตThe-important-obstacle-in-life

รวมเรื่อง ในหนังสือคู่มือมนุษย์ ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

การจัดห้องพระตามความเหมาะสมและถูกต้อง

การสวดปาฏิโมกข์ต่างจากการสังคายนาอย่างไร?

7 ภาพวาด ที่บอกเล่าเรื่องราว ครั้งสำคัญประวัติศาสตร์ ของพระพุทธศาสนา

ความซับซ้อนของกรรม : โดยสมเด็จพระสังฆราชฯ

คาถาชะลอวัย-ที่พระพุทธเจ้าทรงได้เคยประทานไว้

ให้ทานอย่างไร-จึงจะได้ทำบุญอย่างสมบูรณ์-ป.อ.ปยุตฺโต

เด็กชายวัย 8 ขวบ ปลูกผักปลอดสารพิษ เพื่อใช้จ่ายค่าเทอม

กฎการรักษาความสัมพันธ์ทั้ง๖ทิศเพื่อชีวิตที่เจริญรุ่งเรือง

สิ่งที่จะป้องกันเรา-จากความตาย

ถาม-ตอบ (หลวงปู่มั่น) ตอน เวลาคน เราเวลาไข้หนักใกล้จะตาย?

แพทย์ศิริราช ออกแถลงการณ์ด่วน หลวงพ่อจรัญ’ มรณภาพแล้ว

พระไตรปิฎกที่เป็นลายลักษณ์อักษรเล่า?

สหายของนางวิสาขา

ควรทำงานอย่างไร

พระพุทธศาสนาเป็นแหล่งสำคัญที่หล่อหลอมเอกลักษณ์ของชาติไทย

สิ่งที่ปิดบังไตรลักษณ์

การรักษาศีล,สมเด็จพระญาณสังวร

เรื่อง...ขายบัตรเบิกทางไปสวรรค์

ศรัทธากับกฏแห่งกรรม-โดยหลวงพ่อจรัญ

ความหมายของ-บุญ-บาป-จากหนังสือพุทธธรรม

ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

เกร็ดความรู้ เรื่อง เหตุให้ไปสุคติและทุคติ

อะไรทำให้-ปราชิก?-จากหนังสือ-นวโกวาท-หลักสูตรนักธรรมชั้นตรี

อานิสงส์ของศีล-5ประการ

ประวัติความเป็นมา ของพระอวโลกิเตศวรในคัมภีร์ฝ่ายมหายาน

การปฏิบัติภาวนา-ในพระไตรลักษณ์-อนิจจัง-ทุกขัง-อนัตตา

วิธีการทำงาน-ให้เป็นการปฏิบัติธรรม

หาความสุขได้จากสิ่งที่เป็นทุกข์ โดย หลวงพ่อพุทธทาส

ประวัติพระอาจารย์มั่น ภูริทัตตเถระ (โดย ท่านพระอาจารย์มหาบัว ญาณสัมปันโน)

MP3-อย่าสร้างนิสัยทางออกให้กิเลส

104ธรรมะสำหรับคนเจ็บไข้

ธรรมบรรยาย ของหลวงพ่อพุทธทาส เรื่อง/ไฟล์ สวรรค์ในหน้าที่การงาน.mp3

สิ่งที่มีคุณอนันติ์ก็มีโทษมหันต์ได้

สิ่งที่พระพุทธเจ้าทรงเคารพ-โดยหลวงพ่อพุทธทาส

กรณีพระธรรมกาย บทเรียน เพื่อการศึกษาพระพุทธศาสนา และสร้างสรรสังคมไทย โดย พระพรหมคุณาภร ป.อ.ปยุตฺโต

เหตุผล 5 ประการ ที่ควร กินอาหารให้ช้าลง

นาฬิกาชีวิต

7-ลักษณะนิสัยเศรษฐี

โหลด/ฟังMP3-กาลามสูตร-หลักความเชื่อ-10-ประการ

ฟัง-MP3-ระวังอย่าให้โง่เท่าเดิม-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โหลด MP3 - ความดับไม่เหลือ-โดย-หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ประโยชน์ของแตงกวา

ไข่เจียวผัก-อร่อยๆ-ใส่ผักอะไรได้บ้าง

การเสียสละเป็นพื้นฐาน สำหรับโพธิสัตว์

ความริษยา เครื่องทำลายโลก

ทาน ติดตามเจ้าของทานไปตลอด

สติ กับความเพียรช

กินผักผลไม้ต้านมะเร็งได้

ลาบเจ

ผัดฉ่าปลาหมึกและกุ้ง

ต้มข่าไก่เจ

ผลไม้ที่ควรกินเป็นประจำ

มะเขือยาวลดกระ-ด่างดำ-และอื่นๆ

ชาเก็กฮวยอาหารที่ช่วยเพิ่มEQ

น้ำตาลกับความแก่

ประโยชน์ของมะเขือเทศ

ืืทำไมใครๆจึงหันมากินมังสวิรัติ

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกฉบับ45เล่มภาษาไทย 45เล่มบาลี 100เล่ม ส.ธรรมภักดี

จำหน่ายเบาะนั่งสมาธิ-อาสนะ-และที่นั่งสำหรับปฏิบัติธรรม-สำหรับพระภิกษุและฆราวาส

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-5-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด-MP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่4-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-3-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-2-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-เรื่องกฎแห่งกรรม-ตอนที่-1-โดยคุณ-สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3-ท่องนรกกับพระมาลัย-ม้วน-2-หน้า-A-โดยคุณ สนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัยม้วน1หน้า-B-โดยคุณสนธิชัย-ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลดMP3ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 2 หน้า B - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

ดาวน์โหลด MP3 ท่องนรกกับพระมาลัย ม้วน 1 หน้า A - โดยคุณ สนธิชัย ทวีโชคทรัพย์สิน

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นBASIC

เบาะรองนั่ง-เบาะทำ(ธรรม)สมาธิ-รุ่นCOMFORT

อานิสงส์-แห่งการประกอบกรรมดีในลักษณะต่างๆ

ออกใหม่-คำบรรยายในพระไตรปิฎก-โดย-ศาสตราจารย์พิเศษเสฐียรพงษ์วรรณปกราชบัณฑิต

พระพุทธเจ้าทรงสอนอะไร

สามารถดาวน์โหลด บทแผ่เมตตา พร้อมคำแปลไทย ในรูปแบบ MP3-และตายแล้วไปไหน

เชิญชวนศึกษาพระไตรปิฎก

การสวดมนต์ช่วยให้พ้นนรกได้อย่างไร

อัศจรรย์ไฟไหม้หอสมุดวัดพนัญเชิงตู้ไตรปิฎกโบราณรอดปาฎิหารย์

การเผยแพร่หนังสือธรรมะเป็นทาน

อานิสงส์แห่งการชักชวนผู้อื่นถวายทาน

คัมภีร์อุปปาตะสันติ เป็นวรรณกรรมภาษาบาลีของล้านนาไทย

เหตุไรบางคนระลึกชาติได้ บางคนระลึกไม่ได้ ?

มีสติกับเทคโนโลยี โดย ท่านพระอาจารย์ไพศาล วิสาโล

อานิสงส์สร้างหนังสือพระไตรปิฎก,และการถวายหนังสือพระไตรปิฎก

เสียงธรรม : ธรรมะมีลำดับ โดยท่านพระพรหมคุณาภรณ์

คู่มือมนุษย์ เรื่องงที่ ๗ การทำให้รู้แจ้งตามวิธะรรมชาติ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๖ คนเราติดอะไร (เบญจขันธ์)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๕ ขั้นตอนการปฏิบัติ ศาสนา (ไตรสิกขา) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีการเจริญสติในชีวิตประจำวัน

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๔ อำนาจของความยึดติด (อุปาทาน) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๓ ลักษณะสามัญของสิ่งทั้งปวง (ไตรลักษณ์) โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๒ พุทธศาสนา มุ่งชี้อะไร เป็นอะไร (โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

คู่มือมนุษย์ เรื่องที่ ๑ ท่านชอบพุทธศาสนาในเหลี่ยมไหน

ยิ่งให้ยิ่งได้ บทความธรรมะจากหนังสือธรรมะเรื่อง ยิ่งให้ยิ่งได้

ภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

แม่ไม่รัก... เรื่อง โดย แม่ชีศันสนีย์ เสถียรสุต

ีรีวิว.พระพุทธรูปหล่อเลซินปางพระพุทธเจ้าชนะมารจากศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

บททดสอบใจ และเตือนใจให้นึกถึงความจริง(ความตาย)

ปฏิบัติต่อบุรพการีโดยทำหน้าที่ให้ถูกต้อง-จากหนังสือความจริงแห่งชีวิต-พระพรหมคุณาภรณ์(ป. อ. ปยุตฺโต)

การปล่อยวาง (Letting Go)

แนะใช้สมุนไพร รสฝาด รักษาโรคน้ำกัดเท้า และโรคเบาหวาน ฯลฯ

เรื่อง การสั่งซื้อหนังสือ และผลิตภัณฑ์ จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

ไม้นวดและไม้กดจุดเพื่อสุขภาพ และการผ่อนคลายกล้ามเนื้อ

โรคหลอดเลือดแข็ง-กลไกการเกื้อหนุนการเกิดพยาธิสภาพ(จาก..หนังสือรู้สู้โรค)

หนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลโดยมหามกุฎราชวิทยาลัย และตู้พระไตรปิฎกไม้สัก เผยแพร่โดยไตรลักษณ์ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา www.trilakbooks.com โทร.02-482-7358,086-461-8505,081-424-0781

มนุษย์ประเสริฐ-เพราะเป็นสัตว์ที่ฝึกได้-จาก-จาริกบุญจารึกธรรม-จาริกนมัสการและแสดงธรรมกถา ณ สังเวชนียสถาน

หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแปลไทยจำนวน45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยและตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีน้ำตาลอ่อนและน้ำตาลเข้มพร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกลงทองคำเปลวติดกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก

...ข้อคิดดีๆ..(ช่วย)รักษาใจให้มีความสุข...

ดาวน์โหลดแผนที่การเดินทางมายังศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

"ถูกชมก็ธรรมดา ถูกด่าก็เฉยๆ"

จัดพิมพ์ส่วนเพิ่มรายชื่อในหนังสือพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎกจากมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัยจำนวน 45 เล่ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักสีดำงานพุทธศิลป์จากจังหวัดตาก

ตู้พระไตรปิฎกปิดทองคำเปลวลงกระจกศิลปะดั้งเดิมของงานพุทธศิลป์

ตู้หนังสือพระไตรปิฎก ปิดทองคำเปลว และตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก ศิลปะจากจังหวัดตาก จากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

ปณิธานของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ริมกำแพงวัดญาณเวศกวัน

ยิ่งนอนดึก ยิ่งเร่งวันตายเร็ว

NEW-ZONE ศูนย์หนังสือฯ กลางป่า หนีเมืองกรุง

NEW ZONE ไตรลักษณ์ ศูนย์หนังสือ เปิด โซนหนังสือใหม่ เอาใจคอหนังสือธรรมะและหนังสือเพื่อสุขภาพ

เจ้าชู้หลายใจ ต้องชดใช้กรรม

10 เหตุผลดีๆ ที่จะไม่กินเนื้อสัตว์

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ให้อะไรมากกว่าที่คุณคิด

รีวิว ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา - ร้านหนังสือธรรมะ ที่ร่มรื่นที่สุดแห่งหนึ่งของประเทศ

"เปลี่ยนอาการอกหัก หันมารักนิพพานแทน"

6 พิษอันตรายของผงชูรส

มจร. ถวายดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์แด่ท่านชยสาโรภิกขุ

เมื่อจิตหดหู่เราควรเจริญธรรมข้อใด

คงไม่มีพระพุทธศาสนา ถ้าไม่มีพระไตรปิฎก

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก ภาษาบาลี ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตะลึง!!10ขวบตายแล้วฟื้น

5เหตุผลหลักที่ต้องเลือกศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

อย่าหูเบา

ความหมายและที่มาของ : อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ : ตนเป็นที่พึ่งของตน

ความเป็นมาของพระไตรปิฎก

หนังสือพระไตรปิฎก ทั้ง 45 เล่ม ฉบับเฉลิมพระเกียรติ ส่งตรงจาก มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ความสุข 5 ชั้น พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมคุณาภรณ์ ป.อ.ปยุตฺโต

พระพุทธศาสนา มีความมุ่งหมายอย่างไร โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ความสุข อยู่แค่ ที่ ปลายจมูก โดยท่าน ไพศาล วิสาโล

มรณานุสติ พิจารณาถึงความตาย โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

การตอบแทนพระคุณของแม่ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

ท่านได้อะไรเมื่อไปงานศพ

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ โดย หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ

“ความกตัญญูกตเวที” (สมเด็จพระญาณสังวรสมเด็จพระสังฆราชสกลมหาสังฆปริณายก)

พ่อแม่นั้นทำทุกอย่างเพื่อลูกด้วยความรัก

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง เลือกแต่ของดีๆ ไปให้แม่

นิทานยอดกตัญญูจีน เรื่อง ตามใจพ่อแม่

ร่วมสนับสนุนหนังสือธรรมะจาก หนังสือคลังธรรมทาน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะแด่ท่านผู้ใจบุญ

ฟ้าดินให้ความสำคัญกับ “ความกตัญญู” เป็นอันดับแรก

บริการจัดทำหนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ในราคาพิเศษสุด บริการจัดส่ง ทั่วประเทศ

ใครจะพูดสรรเสริญเรา นินทาเรา หรือว่ากล่าวตักเตือนเรา เราต้องฟังได้ จึงจะเป็นคนดี เป็นคนซื่อสัตย์สุจริต อันนี้เราต้องพิจารณาดูว่า เรามีลักษณะอย่างนี้หรือไม่

ตัวตน แห่งที่มาของความเห็นแก่ตัว

สุภาษิต และคำพังเพย ให้ชวนคิด ของท่านพุทธทาส

โทษ และภัยของบุหรี่

ธรรมะดีดีจากหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

พระไตรปิฎกนั้นคืออะไร

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้และหนังสือพระไตรปิฎกมจร.พุทธศาสนิกชนผู้ใจบุญ และผู้ประสงค์จะร่วมสร้างบุญกุศลด้วยตู้พระไตรปิฎก

เมื่อเราป่วยและรักษาไม่หาย

กลอน พุทธทาส จักอยู่ไปไม่มีตาย โดย พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

วิธีฝึกจิต โดยหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

คู่มือแสดงหลักธรรม ฉบับสมบูรณ์

อะไรภาษาคน-อะไรภาษาธรรม

คนทั่วไปมองครูอย่างไร ?

พอใจ กับ ไม่พอใจ ดีใจ กับเสียใจ ก็ทุกข์พอกัน

อย่าอวดดี ว่าเราเห็น จากหนังสือเรื่องความลับของชีวิตของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

โรคทางจิตวิญญาณ สำคัญ และเป็นกันมาก...แค่ไหน

ธรรมปฏิสันถาร คืออะไร

ระบบอานาปานสติจากผลงานหนังสือธรรมะของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

หัวข้อธรรมในคำกลอน กลอนธรรมะจากสุดยอดผลงานหนังสือของ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

บทความธรรมะเรื่อง "การศึกษา" คือสิ่งที่ทำความก้าวหน้าอย่างถูกต้อง

เนื้อหาธรรมะในการดำเนินชีวิตเรื่อง หน้าที่ของเรา

โรคร้ายหายได้ด้วยการสวดมนต์

ยินดีที่จะเสี่ยง เมื่อศัลยแพทย์คนนี้ตัดสินใจมาขายรองเท้าเธอกลัวที่จะเสียใจที่ไม่ได้ทำมากกว่าความล้มเหลว โดย มาเรีย บาร์ติโรโมท

เนื้อหาสาระในบทธรรมะจากหนังสือธรรมะ การงานคือตัวการปฏิบัติธรรม โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ

ตัวตนที่แท้จริง,ใช่หรือไม่ใช่

TIP อย่าเห็นสิ่งใด ประเสริฐกว่าธรรม

TIP ชีวิตที่ดีที่สุด

เจท ลี ฮีโร่นอกจอ ทั้งในภาพยนต์และในชีวิตจริงชีวิตจริงก็คือธรรมะ

ธรรมศาสตราจะมีได้ต่อเมื่อมีการปฏิบัติเท่านั้น

ทำความรู้จักกับคำว่า อตัมมยตาประยุกต์กัน

ทำความเข้าใจกับคำว่าพรหมจรรย์

พระไตรปิฎก,สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้,โดยพระพรหมคุณาภรณ์

นิทานซึ้งใจ :ไม้เท้ายอดกตัญญู ลูกๆหลานๆ เด็กและเยาวชนควรอ่าน

สวดมนต์ ทำสมาธิ รักษาโรคได้จริง

การถวายหนังสือธรรมะเป็นทาน,อานิสงส์ของการถวายหนังสือ,คำถวายหนังสือ,คำกรวดน้ำแบบย่อ,คำกรวดน้ำแบบเต็ม

ใช้สมาธิพิชิตมะเร็ง ทำเดี๋ยวนี้เลย!!

ทำอย่างไรจึงจะพ้นกรรม

อาหารรักษามะเร็ง ใช้ ธรรมชาติ รักษาธรรมชาติ

9 วิธี สะสมแต้มเพื่อไป นิพพาน (จาก นิตยสาร ซีเครท เคล็บลับสู่ความสุขและความสำเร็จ)

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏิบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๒

จริงหรือที่ว่า ผู้ปฏบัติธรรม ต้องไม่มีความอยาก ตอนที่ ๑

มหัศจรรย์สมุนไพรไทย 11 ชนิด

วารีบำบัด

วิธีล้างผักสด สูตร บ้านสุขภาพ

อาหารกาย-อาหารใจ ความสัมพันธ์ที่แยกไม่ออก โดย... รศ.พญ.จิรพรรณ

ใช้หนี้กรรมสุนัข แมว พระภาวนาวิสุทธิคุณ กรรมติดจรวด

เปรตหลวงพ่อขำ

การระลึกถึงความตายต้องทำจิตใจให้แยบคาย

ช่วยมารดา พ้น นรก (หลวงปู่จันทา ถาวโร)

คิด อย่างไร จึงจะ ได้ดี และ มีความสุข 12 ข้อคิด เพื่อความสุขความเจริญ

บทความโดยย่อ : ร่ำรวยความสุข

ธรรมะ กับ การทำงาน : รู้หน้าที่ ปฏิบัติหน้าที่ จะมีศักดิ์ ศรีทั้งทางโลก และทางธรรม

สมาธิ ในชีวิตประจำวัน : พระธรรมโกศาจารย์ ประยูร ธมฺมจิตโต

ชีวิตนี้สำคัญที่ใจ : การควบคุมสติปัญญาด้วยตัวเราเอง

เริ่มชีวิตใหม่ได้ความสุข copy_resize

ความรักสัมผัสได้ด้วยใจ

เนื้อหา และข้อความสำคัญของ นรกสวรรค์ท่านเลือกได้

พระไตรปิฎกและถรรถกถาแปล-ฉบับมหามกุฏราชวิทยาลัย

ศูนย์จัดจำหน่ายพระไตรปิฎก-ขายตู้พระไตรปิฎก หนังสือธรรมะ-การจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก-ของตกแต่งห้องพระ

อนุโมทนาบุญแด่คณะท่านเจ้าภาพผู้ถวาย ตู้และหนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทยชุดใหญ่

ก่อนจัดส่งธรรมาสน์ไม้สักต้องตรวจเช็ค

ศูนย์จำหน่ายของแต่งห้องพระและพระพุทธรูป

อนุโมทนาบุญแด่ท่านแม่ชีและคณะเจ้าภาพผู้ร่วมบุญกันถวายชุดตู้พระไตรปิฎก

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ที่ไหนดี

กราบอนุโมทนาบุญแด่คณะเจ้าภาพท่านผู้ถวายพระไตรปิฎก

รวมคลิ๊ป รีวิว ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ

ศูนย์จัด ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก และ จัดจำหน่ายตู้พระไตรปิฎกทั่วประเทศ

เลือกซื้อหนังสือพระไตรปิฎก แบบไหนดี ถวายวัด?

กลุ่มรายชื่อหนังสือพระไตรปิฎก แบบมาตรฐานฉบับเต็ม

คำถามที่พบบ่อย เกี่ยวกับ การซื้อพระไตรปิฎก และการจัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ราคาหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และ มหามกุฏราชวิทยาลัยฯ

ศาสนาพุทธไม่ใช่ศาสนาแห่งปรัชญา

ป้ายอลูมิเนียมอย่างดี สีทอง ติด บนตู้พระไตรปิฎก หรือ บนกล่อง-หีบ-บรรจุพระคัมภีร์ต่างๆ ในราคาโรงงาน 700 บาท

กลุ่มหนังสือธรรมะ โดย พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต) ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน

VV กลุ่มหนังสือโปรโมชั่น VV จัดพิมพ์ 100 เล่มขึ้นไป พิมพ์แทรกข้อความฟรี 1 หน้า จัดส่งทั่วประเทศ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น ลงรักปิดทอง ราคา 10,900 บาท

หิ้งพระไม้สักหมู่9หน้า9ราคา18500จัดส่งทั่วประเทศ

เบาะรองนั่งสมาธิ-อาสนะ-สำหรับนั่งสมาธิหรือนั่งวิปัสสนากรรมฐานราคา4900บาทสีน้ำตาล

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทรงป้าน-ทรงA-ออกใหม่สุด-สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก91เล่มราคา15000บาทจัดส่งทั่วประเทศ

พิกัด เส้นทาง การเดินทางมายัง ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์

การสั่งพิมพ์หนังสืออุปปาตะสันติ

ตู้สำหรับบรรจุพระไตรปิฎกกลุ่ม45เล่มสีเขียวเข้ม

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-สำหรับ-บรรจุหนังสือพระไตรปิฎกและอรรถกถาแปลจำนวน-91-เล่ม

ตู้บรรจุ-หนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรม-โดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย-โดยศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์-ราคา-5000-บาท

ตู้พระธรรมบรรจุหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมโดยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

การค้นหารายการหนังสือด้วยวิธีการง่ายๆ

ตู้พระไตร-ไม้สักทั้งหลัง-ทรงป้านราคา9900บาท

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายทองประดับกระจกสีสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลัง-ทรงตรงมาตรฐานสำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก45เล่มของมหาจุฬาฯ

ตู้พระไตรปิฎกสีแดงลวดลายทอง-ใหม่สำหรับพระไตรฯ45เล่ม

ใหม่ล่าสุด-ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทั้งหลังแกะลวดลายประณีตวิจิตรบรรจงสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่ม

หลังจากการโอนเงิน-ค่าหนังสือ-หรืออื่นๆแล้วต้องส่งเอกสารแจ้งด้วยหรือไม่

โทรสั่งหนังสือพระไตรปิฎก-จัดส่งทั่วประเทศ

ตัวอย่าง..หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ มหาเถระสมาคม ภาษาไทย 45 เล่ม

การสั่งซื้อหนังสือพระไตรปิฎกและตู้หนังสือพระไตรปิฎกทุกชนิดจำเป็นต้องโทรศัทพ์สั่งโดยตรง

แนะนำ **การเดินทางมายังศูนย์ไตรลักษณ์** เพิ่มเติม จาก ถนนบรมราชชนนี ปิ่นเกล้า มุ่งหน้ามายัง พุทธมณฑลสาย 4

จำหน่ายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับแก่นธรรมราคา3300บาทโดยศูนย์หนังสือพระไตรปิฎกไตรลักษณ์

ราคาหนังสือพระไตรปิฎกทุกชุดที่เผยแพร่เป็นราคากลาง

เชิญเยี่ยมชม-ด้วยภาพภายในศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ บางส่วน

สั่งซื้อจัดธรรมโฆษณ์ทั้งชุดจากธรรมทานมูลนิธิของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ เผยแพร่โดยศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ 02-482-7358, 087-696-7771

แนะนำหนังสือที่ใช้แจกเป็นธรรมทาน งานอนุสรณ์ **แจกเนื่องในงานที่ระลึก และเป็นที่นิยมในปัจจุบัน**

ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎกจำนวน45เล่มราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกลายทอง-ทรงตรง-ราคา8,500บาท

ตู้พระไตรปิฎกทรงป้าน-ลวดลายทอง

ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ร่วมมอบตู้พระไตรปิฎกให้แก่รายการแฟนพันธุ์แท้

ตัวอย่าง-ส่วนเพิ่มรายชื่อผู้จัดพิมพ์หนังสือพระไตรปิฎก

ตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานพิเศษต่างๆ

การจำหน่ายพระไตรปิฎกราคาที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน

บริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ , พิมพ์หนังสือสวดมนต์, หนังสืองานศพ, งานบวช, งานแต่งงาน,

ตัวอย่างใบแทรกรายชื่อ-สำหรับผู้ถวายหนังสือพระไตรปิฎก

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-บริการจัดส่งทั่วประเทศและต่างประเทศ

แหล่งบริการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะและศูนย์รวมหนังสือธรรมะแบบครบวงจร

ศูนย์เผยแพร่หนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก-หนึ่งในโครงการของศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

พระไตรปิฎกแปล๑๐๐เล่ม-ฉบับส.ธรรมภักดี

พระไตรปิฎกภาษาไทย พุทธศักราช 2549 ฉบับเฉลิมพระเกียรติ-โดยมหาเถรสมาคมเผยแพร่

หนังสือขายดี..พระไตรปิฎก ฉบับสำหรับประชาชน

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..ฉบับปรับปรุงและขยายความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

แนะนำหนังสือขายดี...พระเจ้า500ชาติฉบับสมบูรณ์อดีตชาติก่อนที่จะตรัสรู้เป็นพระสัมมาสัมพุทธเจ้ารวมชาดกจากพระไตรปิฎก๔๕เล่มครบสมบูรณ์547พระชาติ

กฎแห่งกรรม ท.เลียงพิบูลย์ ฉบับสมบูรณ์ พิมพ์ครั้งที่ 1 พุทธศักราช 2555

ชุดหนังสือ-ตู้..พระไตรปิฎก

มรดกวรรณกรรม ท.เลียงพิบูลย์ รวมบทความจากชีวิตจริงเรื่องกฎแห่งกรรม

คำถามที่ถูกถามบ่อย-เกี่ยวกับหนังสือพระไตรปิฎก..ข้อมูลเบื้องต้นของหนังสือพระไตรปิฎก

เริ่มส่งหนังสือพระไตรปิฎกและตู้พระไตรปิฎก ใหม่ เริ่มวันที่ 4 มกราคมนี้

ใหม่..ตู้พระไตรปิฎกติดกระจกลวดลายทองสีเขียวเข้ม

ภาพตู้พระไตรปิฎกไม้สักเต็มใบจากศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ประจำวันที่ 29 ธค.54

กฎแห่งกรรมฉบับสมบูรณ์ โดย ท.เลียงพิบูลย์ พิเศษสุด 7 เล่ม 2800 บาท ค่าจัดส่ง 380 บาททั่วประเทศ

ราคาปรับปรุงใหม่... ชุด ธรรมโฆษณ์ ของ พระธรรมโกศาจารย์ หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ โดย ธรรมทานมูลนิธิ ไชยา สวนโมกขพลาราม ได้มีการปรับราคา เพื่อให้เหมาะสมกับราคาการจัดพิมพ์ใหม่ โดยราคาหนังสือธรรมโฆษณ์ที่ปรับปรุงใหม่จะอยู่ใน แถบสีส้ม ดังต่อไปนี้

แนะนำ-หนังสือธรรมะ เรื่อง: ความสุขที่ยั่งยืน เบิกบาน สว่าง รุ่งเรือง ดุจดวงประทีป พระธรรมเทศนา โดย พระพรหมมังคลาจารย์ (หลวงพ่อปัญญานันทภิกขุ)

ตู้พระไตรปิฎก ลวดลายทอง ติดกระจกสี ประดิษฐกรรม ตู้พระไตรปิฎกผลงานฝีมือทั้งหมด

หนังสือใหม่ :มรรคาสู่ชีวิตใหม่ การอยู่เหนืออำนาจบีบคั้นของสัญชาตญาณ พระธรรมเทศนา โดย พระธรรมโกศาจารย์ (หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ)

ความรู้เกี่ยวกับไม้สัก-เรื่องน่ารู้-

บริการจัดพิมพ์หนังสือเนื่องในงานที่ระลึกต่างๆ

ไตรลักษณ์ ... บริการจัดส่ง หนังสือ และ ผลิตภัณฑ์ ถึงที่บ้านท่านอย่างสะดวก และรวดเร็ว

กิจกรรม-ของ-ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา

รีวิว หนังสือ : บรมพรบรมธรรม ธรรม ๔ ประการที่ควรมีในทุกย่างก้าวชีวิต

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้และ หนังสือพระไตรปิฎก จัดส่ง ให้ลูกค้า

ขณะนี้กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือ ที่ระลึกงานฌาปนกิจฯ ” พ่อ ” พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทร ของลูก – 19 บาท

รายงานการ จัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย โดย ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก โดย ศูนย์หนังสือพระพุทธาสนาไตรลักษณ์

ขณะนี้ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงตรง (แบบมาตรฐาน) ไม้สักแท้ทั้งหลัง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก ชุด 45 เล่มภาษาไทย // บาลี // สยามรัฐ ราคา 8,500 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่งทั่วประเทศ)

ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกและหนังสือพระไตรปิฎก ถึง วัดสุวรรณภูมิพุทธชยันตี เป็นที่เรียบร้อย แล้วครับ

ตรวจเช็ค ตู้พระไตรปิฎก ก่อนดำเนินการจัดส่ง #ตุ้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก เพื่อดำเนินการจัดส่ง ทั่วประเทศต่อไป ท่านสามารถ มาเยี่ยมชม ตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก แบบต่างๆ ได้ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

เตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักทั้งหลัง ทรงตรง สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ภาษาไทย มจร. พร้อมทั้ง ติดป้ายชื่อ ด้านบนตู้พระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดทำ ส่วนแทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมะ เรื่อง วิธีการทำงานให้เป็นการปฏิบัติธรรม (พุทธทาส) 20 บาท เพื่อเตรียมดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

TRILAKBOOKS กับ บรรยากาศ ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ http://www.trilakbooks.com

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎก และ #หนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นบริษัทขนส่ง เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ ท่านสามารถ ดู หนังสือ และ ตู้พระไตรปิฎก แบบต่างๆ ในราคามูลนิธิ ได้ที่ http://www.ตู้พระไตรปิฎก.com

เตรียม ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก แท้ ทั้งหลัง รุ่น ประตู 3 บาน สำหรับบรรจุ พระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทย เพื่อเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รามนาม ผู้ ถวายหนังสือ ธรรมะแจก “หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนดรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท (แทรกข้อความฟรี 1 หน้า)

ขณะนี้ ศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎก กำลัง ดำเนินการ บรรจุตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ ทั้งหลัง แบบ ทรงตรงธรรมดา และแบบ ทรงตรง ประดับ จั่วแกะสลัก ด้านบน

ทำเป็นหนังสือที่ระลึก เรื่อง ยาระงับสรรพโรค ของหลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ เล่มละ 20 บาท

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และ หนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่ม ไทย พร้อมทั้ง ตู้พระไตรปิฎก ไม้สักแท้ทั้งหลัง ด้านบนประดับจั่ว สลักลายดอกไม้ สวยงาม จัดส่ง ถึงวัดเทียนถวาย จ.ปทุมธานี เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนา กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “ธรรมทรงคุณค่า” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 25 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกไตรลักษณ์ เตรียมดำเนินการจัดส่งหนังสือ และตู้พระไตรปิฎก จัดส่ง ไปยังที่หมายแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้จัดทำหนังสือธรรมะ เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ เรื่อง “ธรรมะทรงคุณค่า” เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก

ขณะนี้ ลูกค้ามาดูหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย และตู้พระไตรปิฎก ด้วยตนเอง สรุปได้เลือกตู้พระไตรปิฎก สีฟ้าลวดลายทอง แล้ว ให้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่งให้ต่อไป ที่ ** ส่งที่วัดสระมณี อำเภอหนองหาร จังหวัดอุดรธานี **

แหล่งรวมหนังสือธรรมะ ศูนย์จัดพิมพ์หนังสือธรรมะ ที่รวบรวมหนังสือธรรมะมากกว่า 2000 รายการ

ศูนย์หนังสือที่เผยแพร่และจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ ทั้งสอง แห่ง คือ มูลนิธิมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และมูลนิธิมหามกุฏราชวิทยาลัย

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก แบบไม้สัก ทั้งหลัง พร้อมประดับลวดลายทองงานบรรจงประณีต

ลงรักปิดทอง คืออะไร ทำไมต้องลงรักปิดทอง?

จัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปถึง บ้านลูกค้า เพื่อนำไปถวาย วัดต่อไป กราบอนุโมทนาบุญด้วยครับ

ยาระงับสรรพโรค-พุทธทาสภิกขุ-20บาท ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก “เนื่องในงานฌาปนกิจศพ” เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้ผู้มาร่วมงาน สวดพระอภิธรรม

ก่อนจะถึง เทศกาลสงกรานต์ ปีนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วมถวายหนังสือพระไตรปิฎกฉบับประชาชน 20 เล่ม

เตรียมตอกลังกันกระแทก ครอบตู้พระไตรปิฎก เพื่อป้องกันการกระเทือน ระหว่างการขนส่ง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลัง ดำเนินการ ห่อตู้ และเตรียมจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ทั้งหลัง ราคาตู้พระไตรปิฎก 8500 บาท สำหรับใส่หนังสือพระไตรปิฎก ของ มหาจุฬาลงกรณฯ 45 เล่มภาษาไทย ราคา 15000 บาท (ยังไม่รวมค่าจัดส่ง)

ขณะนี้ก่ำลังพิมพ์ รายชื่อ ผู้จัดพิมพ์หนังสือบรมพรบรมธรรม

ขณะนี้ คณะพระสงฆ์ ได้มา ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิ 15,000.-

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกแบบลงรักปิดทอง ทั้งหลัง ไปยัง หมู่บ้านบุราสิริ ประชาชื่น-งามวงศ์วาน

ซื้อหนังสือพระไตรปิฎก, ส่งหนังสือพระไตรปิฎก

ดำเนินการจัดส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎกภาษาไทย ไม้สักทั้งหลัง ถึง #สำนักสงฆ์หลวงปู่เจือ

เตรียมจัดส่งหนังสือ ปราชญ์กล่าวว่า "ชีวิตนี้น้อยนัก" ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 15 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่ง แล้วครับ

ผนึก ป้ายรายชื่อบรรจุลงใน ชุดพระอภิธรรม คัมภีร์พระอภิธรรม + ตู้บรรจุพระอภิธรรมแบบลงรักปิดทอง

ตู้พระไตรปิฎก ของศูนย์จัดส่งพระไตรปิฎกไตรลักษณ์ ที่ตอกลังกันกระแทก ทุกหลัง เพื่อไม่ให้กระทบกระเทือน ระหว่างตู้กัน กำลังดำเนินการจัดส่ง ถึงที่หมายเรียบร้อยแล้วครับ

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก ใช้หนังสือ บรมพรบรมธรรม โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 25 บาท ทำส่วนแทรก ข้อความฟรี

อนุโมทนาบุญ – ในการจัดพิมพ์หนังสือธรรมะเป็นธรรมทาน ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ ส่วนแทรกข้อความของผู้ประสงฆ์แทรกข้อความ บันทึกลงในหนังสือ บรมพรบรมธรรม ของสมเด็จพระสังฆราช เล่มละ 25 บาท

ดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ระลึก เพื่อแจกเป็นธรรมบรรณาการ ให้แด่ผู้สั่งพิมพ์ หนังสือ บทสวดมนต์ คู่มืออุบาสกอุบาสิกา (ทำวัตรเช้าเย็น แปลไทย ทั้งหมด)

ดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ นิมิตกฏแห่งกรรม-ราคา-18-บาท

จัดพิมพ์ งานพระราชทานเพลิงศพฯโดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการบรรจุ คัมภีร์ พระอภิธรรม หรือคัมภีร์ พระมาลัย พร้อม กล่องบรรจุพระคัมภีร์ จัดทำขึ้นด้วยงานฝีมือ ล้วน ทั้งใบ “ประดับ ลวดลายทอง พร้อม กับ ลงรักปิดทอง “

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดทำส่วนแทรก รายชื่อ พร้อม บทสวดมนต์ เพิ่มเติม เพื่อให้ผู้จัดพิมพ์ ดำเนินการ แจก เป็นหนังสือธรรมบรรณาการ แด่ ผู้สนใจ ศึกษา บทสวดมหามงคลหลวง #อุปปาตะสันติ #มหาสันติงหลวง เพื่อถวายเป็นพุทธบูชา ต่อไป

อาจารย์ จากศูนย์การเรียนรู้พิเศษประภาคารปัญญา (เด็กพิเศษ) มาซื้อพระไตรปิฎกภาษาไทย ของ มจร 45 เล่ม 1 ชุด

ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง ชุดหนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาฯ ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศเรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ ศูนย์ จัดพิมพ์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดพิมพ์ แทรกข้อความ รายนาม ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ แจกเป็นธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี โดย สมเด็จพระสังฆราช” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ ธรรมทาน 19 บาท ด้วยระบบ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อจัดส่ง ต่อไป

ตรวจเช็ค หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 45 เล่ม มจร

จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมถวายหนังสือ #หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย 91 เล่ม ด้วยระบบเครื่องพิมพ์ ดิจิตอล ความละเอียดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งไปไป ท่านสามารถ ดูรายละเอียดหนังสือพระไตรปิฎก ฉบับ 91 เล่ม (ชุดใหญ่)

พระไตรปิฎก,หนังสือพระไตรปิฎก, ตู้พระไตรปิฎก

กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า "วิธีสร้างบุญบารมี" -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ - 19 บาท

อนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ บทสวดมหามงคลหลวง อุปปาตะสันติ มหาสันติงหลวง แปลไทย เล่มละ 30 บาท จำนวน 1,651 เล่ม

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก และหนังสือธรรมะ จัดส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว ครับ

ส่งตู้พระไตรปิฎกและหนังสือไปยัง วัดสะพานสูง ปากเกร็ด เรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่งขึ้นขนส่งแล้วครับ ตู้พระไตรปิฎกไม้สักลายไม้น้ำตาล

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก เตรียมดำเนินการ ตอกลังกันกระแทก ตู้พระไตรปิฎก ไม้สัก รุ่น ประตู 3 บาน (ใหม่ล่าสุด) เพื่อจัดส่งขึ้นบริษัทขนส่ง เรียบร้อยแล้วครับ

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดทำ พระไตรปิฎก ภาษาไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ราคามูลนิธิของมหาจุฬา 15000 บาท และจัดทำรายชื่อ ด้วยระบบพิมพ์ ดิจิตอล ความคมชัดสูง เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

นับเป็นบุญ ที่ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์ ได้ที่มีโอกาส เป็นสะพานบุญ ในการนำส่ง หนังสือและตู้พระไตรปิฎก

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก ฉบับภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิของมหาจุฬาฯ ราคา 15000 บาท (ไม่รวมค่าจัดส่ง) เรียบร้อยแล้ว

ดำเนินการจัดทำ หนังสือที่ระลึกเนื่องในงานฌาปนกิจ แทรก 1 หน้า โดยใช้หนังสือ บทสวดมนต์ “คู่มืออุบาสกอุบาสิกา” – 30 บาท

ขณะนี้ กำลังดำเนินการ จัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมบุญ จัดพิมพ์หนังสือ เป็นธรรมบรรณาการ โดยใช้หนังสือ ธรรมะทรงคุณค่า “วิธีสร้างบุญบารมี” -โดย-สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือธรรมทาน “วิธีสร้างบุญบารมี” โดยสมเด็จพระสังฆราช ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ 19 บาท

ส่งตู้พระไตรปิฎ ไม้สักทรง สี่เหลี่ยมคางหมู ประดับลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก แบบ91 เล่มภาษาไทย ไปยัง #หมู่บ้านพรไพศาล

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก พร้อมทั้งตู้พระไตรปิฎกทรงตรง แบบลงรักปิดทองสำหรับหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย ถึง #วัดดอนตูม จังหวัดราชบุรี เรียบร้อยแล้ว ครับ

พระอาจารย์ท่านเดินทางไกล มาซื้อ ชุดพระคำภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อมกล่องบรรจุแบบลงรักปิดทอง ถึงที่ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือธรรมะ เป็น ของที่ระลึก เรื่อง… แม่-พระผู้เป็นร่มโพธิ์ร่มไทรของลูก ราคา 19 บาท โปรโมชั่นพิเศษ สุด : สั่งพิมพ์ เพื่อเผยแพร่เป็นธรรมบรรณาการ 100 เล่มขึ้นไป จัดพิมพ์ข้อความสำหรับแทรกลงในหนังสือ ขาวดำ 1 หน้า ฟรี + จัดส่ง ทั่วประเทศ

ดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์ “ฃีวิตนี้น้อยนัก” เล่มละ 15 บาท เพื่อดำเนินการเตรียมจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สีเหลือง ลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทยของ มจร ไปยังวัดเรียบร้อยแล้วครับ

เตรียมจัดส่ง หนังสือ “นวโกวาท” ราคามูลนิธิ มหามกุฏฯ 30 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ทั่วประเทศ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือ ธรรมะ เรื่อง ปราชญ์กล่าวว่า ชีวิตนี้น้อยนัก-ราคาต้นทุนโรงพิมพ์-15บาท

จัดพิมพ์หนังสือที่ระลึกงานศพ ใช้หนังสือเรื่อง คู่มืออุบาสกอุบาสิกา-บทสวดทำวัตรเช้าเย็นแปลไทย -30บาท

จัดส่งหนังสือพระไตรปิฎก ไปยัง จังหวัดนนทบุรี

ดำเนินการจัดทำหนังสือให้ลูกค้าผู้สั่งพิมพ์หนังสือเป็นธรรมทาน เรื่อง วิธีสร้างบุญบารมี ซึ่งเป็นพระนิพนธ์ของสมเด็จพระญาณสังวร สมเด็จพระสังฆราชฯ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท

ลูกค้ามารับ คัมภีร์บาลีปาฏิโมกข์ พร้อม หีบบรรจุคัมภีร์ แบบลงรักปิดทอง พร้อมประดับลวดลายทอง

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎก สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก รุ่น เหลืองอัมพัน ประดับจั่วลวดลายทอง และ หนังสือพระไตรปิฎก ชุด 91 เล่ม ภาษาไทย ไปยัง วัดพุทธบูชา กุฎิจุ้ยจ้อย (กุฎิเจ้าคุณสุธีหรือเจ้าคุณบุญทัม)

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง #ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ถึงที่หมายแล้ว ใหม่ล่าสุด + สวยงาม+แข็งแรงและไม่เหมือนใคร ตู้พระไตรปิฎกไม้สักแท้ รุ่นประตู 3 บาน สำหรับบรรจุพระไตรปิฎก 91 เล่ม ภาษาไทยแปลพร้อมอรรถกถา

ศูนย์จัดส่ง ตู้ และหนังสือพระไตรปิฎก ในราคามูลนิธิ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มไทย และ ตู้พระไตรปิฎกไม้สัก ประดับจั่วลายดอกไม้ พร้อมทำป้ายปิดหน้าตู้ ผู้ถวายหนังสือและตู้พระไตรปิฎก ไปยังที่หมาย เรียบร้อยแล้ว ครับ

พิมพ์หนังสือธรรมะแจกในงานบวช

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ขอขอบพระคุณ คุณอดิศักดิ์ ศรีสม ที่ได้สั่งพิมพ์ หนังสือบรมพร บรมธรรม

ขณะนี้ พระอาจารย์ มาตรวจต้นฉบับงานพิมพ์ หนังสือใหม่ที่สั่งพิมพ์ทั้งเล่ม โดย พิมพ์หนังสือพิมพ์แจกเป็นธรรมบรรณาการ ของเจ้าภาพ เพื่อนำแจกเป็นธรรมทานต่อไป

จัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ “อภินิหารแห่งบุญ- โดย – หลวงพ่อจรัญฯ”

ขณะนี้ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกฯ กำลังดำเนินการจัดทำ หนังสือ ที่ระลึก เพื่อแจกในงานบำเพ็ญบุญ หนังสือสวดมนต์ แปลไทย คู่มืออุบาสก อุบาสิกา 30 บาท และจักดำเนินการจัดส่งต่อไป

อนุโมทนาบุญ กับท่านผู้จัดพิมพ์หนังสือ เพื่อแจกเป็นธรรมทาน ” หนังสือ บรมพรบรมธรรม ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน เล่มละ 25 บาท (พิมพ์ข้อความแทรก ฟรี)

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์รายชื่อผู้ร่วมจัดพิมพ์ หนังสือพระไตรปิฎก91เล่มภาษาไทย

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ดำเนินการจัดส่ง ตู้และหนังสือพระไตรปิฎก แทนลูกค้า

ขณะนี้ เตรียมห่อบรรจุ คัมภีร์ บาลีปาฏิโมกข์ แบบลงรักปิดทอง พร้อม ชุด คัมภีร์ ใบลานเทศน์มหาชาติ

ส่งหนังสือ “ธรรมะทรงคุณค่า” ถามตอบปัญหาธรรมะ โดย หลวงปู่มั่น เล่มละ 25 บาท ถึงที่หมายปลายทางเรียบร้อยแล้วครับ

พระอาจารย์ หลวงพ่อ เดินทางมาเลือก หนังสือธรรมะ ชุดธรรมโฆษณ์ ของหลวงพ่อพุทธทาส

ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ เตรียมจัดงาน ประชาสัมพันธ์ หนังสือ พระพุทธศาสนา ในงาน “การประชุมวิชาการประจำปี สังคมศาสตร์ มนุษย์ศาสตร์ และศึกษาศาสตร์” มหาวิทยาลัย มหิดล… ที่โรงแรม เดอะรอยัล ริเวอร์ (ติดแม่น้ำเจ้าพระยา) กรุงเทพฯ

เบาะรองนั่งสมาธิ-หุ้มด้วยหนังเทียมทำงานสะอาดง่าย-ราคา950บาท

จัดพิมพ์ข้อความส่วนแทรกรายชื่อ ผู้ร่วม แจกเป็นธรรมทาน “บทสวดมนต์บูชาพระพุทธคุณ ” ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 20 บาท พร้อมดำเนินการจัดส่งต่อไป

เตรียมงานพิมพ์แทรก รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือ คู่มือมนุษย์ โดย หลวงพ่อพุทธทาสภิกขุ ในราคาต้นทุนโรงพิมพ์ (ปกแข็ง)

แนะนำกลุ่มตู้พระไตรปิฎกที่ใช้สำหรับหนังสือพระไตรปิฎก91เล่มไทย

ขณะนี้… ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก และ หนังสือพระพุทธศาสนา ไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วม ถวายหนังสือ และ เตรียมจัดส่ง หนังสือพระไตรปิฎกภาษาไทย พร้อม อรรถกถาแปล เพื่อดำเนินการจัดส่ง ต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือฯไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ รายชื่อ ผู้ร่วมจัดพิมพ์หนังสือแจกเป็นธรรมบรรณาการ เพื่อเผยแพร่พระธรรมคำสอน “ความสุขที่สมบูรณ์” ราคาต้นทุนโรงพิมพ์ธรรมทาน 19 บาท เตรียมจัดส่ง ขึ้นบริษัทขนส่ง ให้ถึงผู้สั่งพิมพ์ต่อไป

กราบอนุโมทนาบุญ ผู้ร่วมบุญสร้างถวาย หนังสือและตู้พระไตรปิฎก และขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ได้นำตู้และหนังสือพระไตรปิฎก 45 เล่มภาษาไทย ไปยัง วัดอุดมสิทธิกุล อ.บางเลน จ.นครปฐม เป็นที่เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์กำลังดำเนินการจัดพิมพ์ หนังสือที่ละลึกเรื่อง ยาระงับสรรพโรค เล่มละ 20 บาท เพื่อดำเนินการจัดส่งต่อไป

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ “วิธีสร้างบุญบารมี” โดย สมเด็จพระสังฆราชฯ – 19 บาท เพื่อทำเป็นหนังสือที่ระลึกในงานฌาปนกิจฯ และเตรียมดำเนินการจัดส่งต่อไป

กลุ่มตัวอย่างตู้พระไตรปิฎกสำหรับหนังสือพระไตรปิำก45 เล่มไทย

เตรียมจัดส่งตู้พระไตรปิฎก และหนังสือพระไตรปิฎก ขึ้นรถกระบะ เพื่อนำส่งขึ้นบริษัทขนส่งเรียบร้อยแล้ว วันนี้ครับ

ขณะนี้ ศูนย์หนังสือไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้ และหนังสือ พระไตรปิฎก 45 เล่ม แปลไทย ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ถึง …วัดจากแดง ต.ทรงคนอง อ.พระประแดง จ.สมุทรปราการ เรียบร้อยแล้ว

ขณะนี้ กำลังดำเนินการจัดพิมพ์หนังสือ ถ้ารู้จักพระพุทธศาสนาความสุขต้องมาทันที-ราคา20บาท โดย พระพรหมคุณาภรณ์ฯ

ลูกค้ามารับ #ตู้พระไตรปิฎก แบบ ไม้สักแท้ทั้งหลัง พร้อมทั้ง #หนังสือพระไตรปิฎก ภาษาไทย 45 เล่ม ของมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ในราคามูลนิธิ ที่ ศูนย์หนังสือพระพุทธศาสนา ด้วยตนเอง

ขณะนี้ ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎก ไตรลักษณ์ ดำเนินการจัดส่ง ตู้พระไตรปิฎกไม้สักทรงป้าน-สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก45เล่ม ราคา11000บาท สำหรับบรรจุหนังสือพระไตรปิฎก เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ

สถิติ

เปิดเว็บ15/04/2010
อัพเดท14/03/2024
ผู้เข้าชม11,000,088
เปิดเพจ16,600,929
สินค้าทั้งหมด2,093

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..ฉบับปรับปรุงและขยายความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..ฉบับปรับปรุงและขยายความ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย..โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

หนังสือขายดี..พุทธธรรม..

ฉบับปรับขยายความ

เผยแพร่โดย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

โดยพระพรหมคุณาภรณ์(ปอ.ปยุตฺโต)

ท่านสามารถสั่งโดยตรงได้ที่ศูนย์เผยแพร่พระไตรปิฎกและหนังสือพระพุทธศาสนาไตรลักษณ์

โทร.086-461-8505, 087-696-7771

สั่งซื้อหนังสือพุทธธรรม (คลิ๊ก)

มส.’เลื่อน-ตั้ง’สมณศักดิ์พระเถระ 159 รูป พระพรหมคุณาภรณ์’วัดญาณเวศกวัน จ.นครปฐม ขึ้นสมเด็จพระพุทธโฆษาจารย์

ซึ่งท่านเจ้าคุณประยุทธ์ สมเด็จรูปสุดท้ายในรัชกาลที่ 9

พระพรหมคุณาภรณ์(ประยุทธ์ ปยุตฺโต) เป็นนักปราชญ์คนสำคัญในพระพุทธศาสนา   เป็นพระนักวิชาการนักคิดนักเขียนผลงานทางพระพุทธศาสนารุ่นใหม่
ได้รับการยกย่องทั้งในประเทศและทั่วโลก มีผลงานโดดเด่นในหนังสือวิชาการพระพุทธศาสนาจำนวนมาก ที่เป็นที่รู้จัก เช่น พุทธธรรม เป็นต้น
ด้วยผลงานของท่านทำให้ได้รับรางวัลและดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์จากหลายสถาบันทั้งในและนอกประเทศ โดยเฉพาะอย่างยิ่งการที่ท่านเป็น
คนไทยคนแรกที่ได้รับรางวัลการศึกษาเพื่อสันติภาพ จากองค์การยูเนสโก (UNESCO Prize for Peace Education)
นอกจากนี้ปริญญาดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์ที่ท่านได้รับรวมมีมากกว่า 15 สถาบัน ซึ่งนับว่าท่านเป็นพระภิกษุสงฆ์ไทยที่
ได้รับการยกย่องให้ได้รับดุษฎีบัณฑิตกิตติมศักดิ์มากที่สุดในปัจจุบัน ปัจจุบันพระพรหมคุณาภรณ์ดำรงตำแหน่งเป็นศาสตราจารย์พิเศษ
ประจำมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย และจำพรรษาอยู่ที่วัดญาณเวศกวัน จ.นครปฐม


พุทธธรรมฉบับปรับขยายโดยพระพรหมคุณาภรณ์

พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย โดยพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต)

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่

หนังสือ ปกแข็ง หุ้มหนังอย่างดี เย็บกี่ 

กระดาษ ถนอมสายตาสีครีม

จำนวน 1360 หน้า 

จัดพิมพ์ครั้งที่ 39 พ.ศ. 2557

พิมพ์ที่ โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย จำนวน 15,000 เล่ม

พุทธธรรมฉบับปรับขยายโดยพระพรหมคุณาภรณ์

---อนุโมทนา---

มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย เป็นสถาบันหลักที่ได้ตีพิมพ์หนังสือ

พุทธธรรมเผยแพร่มาตั้งแต่ระยะแรก เริ่มด้วยพิมพ์ พุทธธรรม ฉบับปรับปรุงและขยายความ

ในพ.ศ.2529 อันเป็นครั้งที่ ๓ จนถึงวาระล่าสุดใน พ.ศ.2511 อันเป็นครั้งที่ 11


บัดนี้ หนังสือพุทธธรรมนั้นได้พัฒนาขึ้นมาเป็นฉบับที่ใช้ข้อมูลคอมพิวเตอร์ และตีพิมพ์

ในชื่อที่ตัดสั้นลงให้เรียกง่ายขึ้นว่า พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย


ณ โอกาสนี้ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย แจ้งว่า หนังสือพุทธธรรม

ที่พิมพ์เผยแพร่ครั้งก่อนนั้น หมดไปแล้ว จึงประจงค์จะตีพิมพ์ขึ้นใหม่ เพื่อมอบ

เป็นธรรมบรรณาการแก่ผู้มีอุปการคุณของมหาวิทยาลัย และเพื่อจัดจำหน่ายต่อไป


ขออนุโมทนากัลยาณฉันทะของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

ในการส่งเสริมการศึกษา ช่วยกันแผ่ขยายความรู้เข้าใจธรรม อันจะมีผลเป็นการดำรงรักษาสืบ

อายุพระพุทธศาสนา พร้อมทั้งเป็นปัจจัยเสริมสร้างประโญชน์สุข 

แห่งมหาชน ให้แพร่หลายเพิ่มพูน เพื่อสัมฤทธิ์ความไพบูลย์ ทั้งอามิสไพบูลย์ และธรรมไพบูลย์

ยั่งยืนนานสืบไป


พระพรหมคุณาภรณ์ (ป. อ. ปยุตฺโต)

1 พฤษภาคม 2557

.........................................................
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม
สารบัญพุทธธรรม

............................................................

พระไพศาลวิสาโล กับ หนังสือพุทธธรรม

บทสัมภาษณ์ : พุทธธรรม’ นำชีวิต  : โดย :  พระไพศาล วิสาโล 

............................................................

ต้อนรับคอลัมน์ใหม่ ด้วยหนังสือดีในชีวิตของพระไพศาล วิสาโล พระนักคิด นักเขียน 

และนักอ่านผลงานเขียนของท่านมีมากมายกว่า 90 เล่ม

ทั้งในนามพระไพศาล วิสาโล และในนามปากกาอื่น ๆ ซึ่งล้วนแต่มีธรรมะเป็นหลักในการถ่ายทอด

‘พุทธธรรม’ ของพระพรหม-คุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) คือหนังสือที่พระไพศาลยกย่อง ถึงขั้นที่ว่าถ้ามี

หนังสือเพียงเล่มเดียวที่สามารถติดตัวไปได้ในชีวิต ‘พุทธธรรม’ คือเล่มที่ท่านเลือก

“หนังสือเล่มนี้อาตมาอ่านจบช่วงเข้าพรรษาสมัยที่เป็นฆราวาส เมื่อ พ.ศ. 2525 ตั้งใจว่าอ่านให้ได้วันละ 10 หน้า 

ก็อ่านได้ทุกวัน พรรษาหนึ่งประมาณ 90 กว่าวัน หนังสือมีความหนาประมาณพันกว่าหน้า

อ่านตั้งแต่วันแรกจนถึงวันสุดท้ายก็พอดี เป็นการฝึกความเพียรและวินัยด้วย บางทีเรา

เดินทางไปต่างจังหวัดก่อนหน้านั้นวันหนึ่งจะต้องอ่านเพิ่มอีก 10 หน้าเพื่อชดเชยกับวันที่ต้องเดินทาง”

นอกจากความเพียรในการอ่านแล้ว ช่วงนั้นพระไพศาลซึ่งเป็นเพียงเด็กหนุ่มที่เพิ่งจบมหาวิทยาลัย

ยังได้รับความเมตตาจากพระราชวรมุนี (พระพรหมคุณาภรณ์) อนุญาตให้เข้าพบเป็นประจำทุกเดือน

เพื่อสนทนาธรรมสอบถามข้อสงสัยจากหนังสืออีกด้วย

“อ่านหนังสือแล้วไปถามท่านเราก็ได้ความกระจ่างเยอะ ถือเป็นความโชคดีในฐานะนักอ่าน

ยิ่งได้คุยกับท่านยิ่งรู้ว่า ท่านเป็นผู้มีสติปัญญาล้ำเลิศ ถ้าจัดเรตให้ต้องถือว่าเฟิร์สตเรต อัศจรรย์มาก”

พุทธธรรมเป็นวรรณกรรมพุทธศาสนา ที่ได้รับการยอมรับว่าแสดงหลักธรรมของพระพุทธศาสนา

เถรวาทอย่างซื่อตรงต่อพระไตรปิฎกเป็นอย่างยิ่ง นำเสนอหลักการและสาระสำคัญของพระพุทธศาสนา

อย่างครบถ้วน และเป็นระบบอย่างชัดเจน พิมพ์เผยแพร่ครั้งแรกเมื่อปี พ.ศ. 2514 ต่อมาในปี พ.ศ. 2525 

ผู้เขียนได้ปรับปรุงและขยายความเพิ่มขึ้น จนกลายเป็นหนังสือเล่มใหญ่หนาเป็นพันหน้า


“อ่านไปก็อดทึ่งคนเขียนไม่ได้ว่าทั้งฉลาดทั้งมีความเพียรสูง ค้นข้อมูลมามากทีเดียวกว่าจะเขียนได้อย่างนี้ 

คือไม่ใช่แค่สรุปความย่อความเหมือนหนังสือบางเล่ม แต่เป็นการเขียนขึ้นมาใหม่ โดยมีพระไตรปิฎก

เป็นพื้นฐาน นำเสนอด้วยภาษาที่เข้าใจง่าย ด้วยวิธีคิดของคนสมัยใหม่ด้วย ซึ่งส่วนใหญ่เราจะไม่

เจอแบบนี้ในงานเขียนพระพุทธศาสนา บางทีเคยไปเจอหนังสือเกี่ยวกับสาระพระไตรปิฎก 

เขียนโดยฆราวาสที่เคยบวชพระมาจะเห็นว่าลีลาสไตล์การเขียนแตกต่างกัน บางทีก็แค่ย่อความมาให้เราดู 

การย่อความก็ไม่ใช่เรื่องง่าย แต่ท่านเจ้าคุณทำได้มากกว่านั้น จึงนำมาเสนอใหม่ ด้วยชนิดที่เรียกว่า

สามารถจะสื่อสารกับเราด้วยภาษาของเราได้ และพยายามโยงให้เข้าถึงปัญหาสังคมสมัยใหม่โดยใช้มุมมองแบบพุทธ 

ซึ่งสมควรแล้วที่คนจะพูดว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดในยุครัชกาลที่ 9 และถือว่าเป็นเล่มที่ดีที่สุดเล่มหนึ่งของรัตนโกสินทร์”


อาตมายกให้หนังสือเล่มนี้เป็นหนังสือดีของชีวิต ประการที่หนึ่งเพราะนำเสนอพุทธธรรมอย่าง

เป็นระบบและรอบด้านที่สุดภายในเล่มเดียว คือมีหลายท่านพูดถึงพระพุทธศาสนาอย่างลึกซึ้ง

แต่พูดเป็นบางแง่ อย่างท่านพุทธทาสก็พูดเป็นบางแง่ เช่น ปฏิจจสมุปบาท อิทัปปัจจยตา

แต่เล่มนี้พูดครบทุกแง่อย่างเป็นระบบ ทุกแง่ทุกมุมอยู่ในหนังสือเล่มนี้แล้ว ขอให้ค้นให้เป็น 

อาตมาเคยพูดนะว่าหนังสือเล่มนี้มี 3 มิติ ทั้งลึก กว้าง ไกล 

ลึกคือทำให้เราเข้าใจความจริงที่ลึกซึ้งของตัวเอง

และทำให้เราเห็นกว้าง เห็นโลกและสังคมได้อย่างกว้าง เล่มนี้จะพูดถึงสังคมสมัยใหม่ไว้พอสมควร 

ทำให้เราได้เห็นมิติด้านไกล นั่นคือได้เห็นว่าการสอนพุทธศาสนานี้ผ่านการตีความมายังไงบ้าง 

ประการต่อมาคือใช้ภาษาที่งดงามสละสลวย ภาษาท่านงดงามมาก และสามารถสื่อได้ตรงใจผู้เขียน 

แม้ว่าเนื้อหาจะลึกซึ้ง คือทุกวันนี้แม้ตัวเองจะอ่านงานท่านเจ้าคุณมาเยอะ เวลาจะสื่ออะไรบางอย่าง


เรารู้สึกว่าเราจนต่อถ้อยคำ ไม่สามารถจะเขียนให้สุดความคิดได้ แต่หนังสือเล่มนี้ท่านเจ้าคุณสามารถ

บรรยายให้สุดความคิดได้ อาตมาคิดว่าเป็นแบบอย่างของงานเขียนในทางศาสนาและงานวิชาการได้ 

คือมีทั้งอรรถและรส อรรถคือเนื้อหา รสคือรสของภาษา”

ซึ่งพระไพศาลยอมรับว่าได้รับอิทธิพลจากพระพรหม-คุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) และท่านพุทธทาส

ในการใช้ชีวิตและเขียนหนังสือพอสมควร โดยเฉพาะจากหนังสือพุทธธรรมนั้นมีอิทธิพลต่องาน

เขียนและการค้นคว้าทางพุทธศาสนาอย่างมาก
“ถ้ามีเล่มเดียวที่สามารถติดไปได้ในชีวิตก็เล่มนี้แหละ ถึงแม้จะหนักหน่อยก็ตาม อาตมายังรู้สึกเลย

นะว่าหนังสือเล่มนี้ทำให้เราภูมิใจที่เป็นคนไทย การที่คุณเป็นคนไทยแล้วได้อ่านหนังสือเล่มนี้ถือว่า

โชคดีและคุ้มค่าในการที่ได้เป็นคนไทยแล้ว บางทีเราก็รู้สึกว่าเป็นฝรั่งโชคดีนะ ได้อ่านหนังสือที่ลึกซึ้ง

หนังสือเยอะแยะหลากหลาย แต่พุทธธรรมนี่แหละที่ทำให้เราสามารถเป็นที่อิจฉาของฝรั่งได้ เพราะฝรั่งอ่านเล่มนี้ไม่ได้ 

แต่คนไทยอ่านได้ ฉะนั้นถ้าในแง่ชาวพุทธและในแง่ความเป็นคนไทย หนังสือเล่มนี้จะทำให้เราภูมิใจ

และรู้สึกโชคดีที่ได้เป็นคนไทย ที่อ่านภาษาไทยออก”

และถ้าคุณเป็นคนหนึ่งที่มีหนังสือพุทธธรรมในครอบครอง แต่ยังไม่เคยเปิดอ่าน

พระไพศาลบอกว่าเป็นสิ่งที่น่าเสียดายอย่างยิ่ง เพราะรสชาติของหนังสือเล่มนี้แตกต่างจากหนังสือทั่ว ๆ ไป


“อ่านแล้วจะทำให้เกิดความพิศวงและความปีติเมื่อได้พบความจริง” ... นั่นคือพุทธธรรม

เครดิต คัดลอกบทความ จาก : นิตยสารขวัญเรือน 

........................................................


ควรทราบก่อนอ่าน (บทคัดย่อ)

หนังสือนี้เรียงเนื้อหาตามลำดับหลักธรรม แต่อาจเลือกอ่านที่ใดๆ ตามที่ง่ายหรือสนใจ

เนื้อหาของหนังสือนี้ได้เรียงตามลำดับหลักวิชาทางพระพุทธศาสนา ซึ่งถือว่าได้จัดไว้อย่างเป็นระบบ

จึงเหมาะสำหรับผู้ที่ต้องการหาคามรู้เกี่ยวกับธรรมอย่างเอาจริงเอาจัง 

หรือศึกษาพุทธศาสนาอย่างเป็นวิชาการ แต่สำหรับผู้สนใจในทางปฏิบัติ ไม่จำเป็นต้องอ่านทุกส่วน

โดยตลอดหรือต้องอ่านไปตามลำดับ ตรงข้าม จะเลือกอ่านส่วนใดตอนใด 

และก่อนหลับกันอย่างไรก็ได้ สุดแต่สนใจหรือเห็นว่าเข้าใจง่าย

เช่นผู้ใหม่ อาจเริ่มด้วย บทที่ 22 (บทสรุป : อริยสัจ 4) 

หรือผู้สนใจเรื่องสมาธิอาจอ่านเฉพาะบทที่ 21 ซึ่งว่าด้วยสมาธิ ดังนี้เป็นต้น


 ........................................................................................................................................................................

 

สารบาญ


ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา หลักความเป็นจริงตามธรรมชาติ หรือ ธรรมที่เป็นกลาง
ความนำ-สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน-ลักษณะทั่วไปของพุทธรรม-พุทธธรรม หรือ กฎธรรมชาติและคุณค่าสำหรับชีวิต
   สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน 
   ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม 

ตอน 1 ชีวิตคืออะไร : ก.ชีวิตตามสภาพของมันเอง
บทที่ 1  ขันธ์ 5 : ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต   ตัวสภาวะ

สัญญา-สติ-ความจำ

สัญญา-วิญญาณ-ปัญญา 

ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ 

ขันธ์ 5 กับ อุปทานขันธ์ 5 หรือ ชีวิต กับ ชีวิตซึ่งเป็นปัญหา   

คุณค่าทางจริยธรรม 

บันทึกพิเศษท้ายบท  : ความรู้ประกอบเกี่ยวกับ ขันธ์ 5


ตอน 1 ชีวิตคืออะไร : ข.ชีวิตตามความหมายของมนุษย์ และโดยสัมพันธ์กับโลก

 

 


บทที่ 2  อายตนะ 6 : แดนรับรู้และเสพเสวยโลก   ตัวสภาวะ 

-ประเภทและระดับของความรู้   ก.จำแนกโดยสภาวะ

ข.จำแนกโดยทางรับรู้    

ค.จำแนกโดยพัฒนาการทางปัญญา   

ง.จำแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย์ หน้า 53   -ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้

   ก.สัจจะ 2 ระดับ

 ข.วิปลาส 3 

  -พุทธพจน์เกี่ยวกับอายตนะ 

  -คุณค่าทางจริยธรรม



ตอน 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ?  : ไตรลักษณ์ ลักษณะโดยธรรมชาติ 3 อย่างของสิ่งทั้งปวง

บทที่ 3  ตัวกฎหรือตัวสภาวะ   



ตอน 3 ชีวิตเป็นอย่างไร ?  :  ปฏิจจสมุปบาท - การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกันจึงเกิดมี


บทที่ 4  ตัวกฎหรือตัวสภาวะ   

บทที่ 5 กรรม ในฐานะหลักธรรม ที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท    



ตอน 4 ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร ?  :  
บทที่ 6 วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน 

บทที่ 7 ประเภท และ ระดับ แห่ง นิพพาน และ ผู้บรรลุนิพพาน  

บทที่ 8 ข้อควรทราบ เพิ่มเติม เพื่อเสริมความเข้าใจ : สมถะ-วิปัสสนา, เจโตวิมุตติ - ปัญญาวิมุตติ  

บทที่ 9 หลักการสำคัญ ของการบรรลุนิพพาน

บทที่ 10 บทสรุปเกี่ยวกับเรื่อง นิพพาน  

บทที่ 11 บทความประกอบที่ 1 : ชีวิตและคุณธรรมพื้นฐานของอารยชน   

บทที่ 12 บทความประกอบที่ 2 : ศีล กับ เจตนารมณ์ ทางสังคม   

บทที่ 13  บทความประกอบที่ 3 : ชีวิตควรให้เป็นอย่างไร 

เรื่อง เหนือสามัญวิสัย : ปาฏิหารย์ - เทวดา    

บทที่ 14  บทความประกอบที่ 4 : ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ    

บทที่ 15  บทความประกอบที่ 5 : ความสุข   



ตอน 5 ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร ?  :  

 
บทที่ 16  มัชฌิมาปฏิปทา ต่อเนื่องจาก มัชเฌนธรรมเทศนา   

 บทที่ 17  บุพภาคของการศึกษา หรือ บุพนิมิตแห่ง มัชฌิมาปฏิปทา ปรโตโฆษะที่ดี- กัลยาณมิตร 

บทที่ 18  บุพภาคของการศึกษา  2  โยโสมนสิการ-วิธีการแห่งปัญญา  

 

บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา    

บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศึล 

บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ   

บทที่ 22 บทสรุป : อริสัจ 4   

.........................................................................................

สารบาญพิศดาร

คำปรารภ

อักษรย่อชื่อคัมภีร์

สารบาญ

สารบาญพิศดาร

ความนำ

สิ่งที่ควรเข้าใจก่อน

ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม


     ภาค 1 มัชเฌนธรรมเทศนา

หลักความจริงที่เป็นกลางตามธรรมชาติ หรือ ธรรมที่เป็นกลาง

พุทธธรรมฉบับปรับขยายโดยพระพรหมคุณาภรณ์

ตอน 1 ชีวิตคืออะไร ?


บทที่ 1 ขันธ์ 5 : ส่วนประกอบ 5 อย่างของชีวิต

-ตัวสภาวะ

สัญญา-สติ-ความจำ

สัญญา-วิญญาณ-ปัญญา

-ความสัมพันธ์ระหว่างขันธ์ต่างๆ

-ขันธ์ 5 กับอุปทานขันธ์ 5 หรือ ชีวิตกับชีวิตซึ่่งเป็นปัญหา

-คุณค่าทางจริยธรรม

-บันทึกพิเศษท้ายบท : ความรู้ประกอบเกี่ยวกับขันธ์ 5


บทที่ 2 อายตนะ 6 : แดนรับรู้และเสพเสวยฌลก

-ตัวสภาวะ

-ประเภทและระดับของความรู้

ก.จำแนกโดยสภาวะธรรม หรือโดยธรรมชาติของความรู้

ข.จำแนกโดยทางรับรู้

ค.จำแนกโดยพัฒนาการทางปัญญา

ง.จำแนกโดยกิจกรรมและผลงานของมนุษย์

-ความถูกต้องและผิดพลาดของความรู้

ก.สัจจะ 2 ระดับ

ข.วิปลาส 3

-พุทธพจน์เกี่ยวกับอายตนะ

-คุณค่าทางจริยธรรม


ตอน 2 ชีวิตเป็นอย่างไร ?


บทที่ 3 ไตรลักษณ์ : ลักษณะโดยธรรมชาติ 3 อย่าง ของสิ่งทั้งปวง

-ตัวกฎหรือตัวสภาวะ

-คุณค่าทางจริยธรรม

ตอน 3  ชีวิตเป็นไปอย่างไร ?


บทที่ 4 ปฏิจจสมุปบาท : การที่สิ่งทั้งหลายอาศัยกัน ๆ จึงเกิดมี

-ตัวกฎหรือตัวสภาวะ

1.ฐานะและความสำคัญ

2.ตัวบทและแบบความสำพันธ์ในปฏิจจสมุปบาท

3.การแปลความหมายหลักปฏิจจสมุปบาท

4.ความหมายโดยสรุป เพื่อความเข้าใจเบื้องต้น

5.คำอธิบายตามแบบ

  ก.หัวข้อและโครงรูป

  ข.คำจำกัดความองค์ประกอบหรือหัวข้อตามลำดับ

  ค.ตัวอย่างคำอธิบายแบบช่วงกว้างที่สุด

6.ความหมายในชีวิตประจำวัน

-ความหมายเชิงอธิบาย 

-คำอธิบายแสดงความสัมพันธ์อย่างง่าย

-ตัวอย่างกรณีปลีกย่อยในชีวิตประจำวัน

7.ความหมายลึกซึ้งขององค์ธรรมบางข้อ

-ปฏิจจสมุปบาทในฐานะมัชเฌนธรรมเทศนา

-ปฏิจจสมุปบาทในฐานะปัจจยาการทางสังคม

-หมายเหตุ : การตีความเกี่ยวกับปฏิจจสมุปบาท

-บันทึกพิเศษท้ายบท

บันทึกที่ 1 : ตัวเรา ของเรา ตัวกู ของกู

บันทึกที่ 2 : เกิดและตายแบบปัจจุบัน

บันทึกที่ 3 : ปฏิจจสมุปบาทแนวอภิธรรม

บันทึกที่ 4 : ปัญหาการแปลคำว่า "นิโรธ"

บันทึกที่ 5 : ความหมายย่อขององค์ธรรมในปฏิจจสมุปบาท


บทที่ 5 กรรม ในฐานะหลักธรรมที่เนื่องอยู่ในปฏิจจสมุปบาท

-ความนำ

-กฎแห่งกรรม

-ความหมายและประเภทของกรรม

-ปัญหาเกี่ยวกับความดี-ความชั่ว

  ก.ความหมายของกุศลและอกุศล

  ข.ข้อควรทราบพิเศษเกี่ยวกับกุศลและอกุศล

    1.กุศลและอกุศลเป็นปัจจัยแก่กันได้

    2.บุญและบาป กับ กุศลและอกุศล

  ค.เกณฑ์วินิจฉัยกรรมดี-กรรมชั่ว

-ปัญหาเกี่ยวกับการให้ผลของกรรมดี-กรรมชั่ว

-ผลกรรมในช่วงกว้างไกล

-ข้อควรทราบพิเศษเพื่อป้องกันความเข้าใจผิด

  1.สุขทุกข์ ใครทำให้ ?

  2.เชื่ออย่างไรผิดหลักธรรม ?

  3.กรรมชำระล้างได้อย่างไร ?

  4.กรรมกับอนัตตา ขัดกันหรือไม่ ?

-คุณค่าทางจริยธรรม

-บันทึกพิเศษท้ายบท : กรรม 12


ตอน 4 ชีวิตควรเป็นอย่างไร ?


บทที่ 6 วิชชา วิมุตติ วิสุทธิ สันติ นิพพาน : ประโยชน์สูงสุดที่ควรจะได้จากชีวิตนี้

-กระบวนธรรมดับทุกข์ หรือปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร

-ภาวะแห่งนิพพาน

-ภาวะของผู้บรรลุนิพพาน

  1.ภาวะทางปัญญา

  2.ภาวะทางจิต

  3.ภาวะทางความประพฤติ หรือการดำเนินชีวิต


บทที่ 7 ประเภทและระดับแห่งนิพพานและผู้บรรลุนิพพาน

1.ประเภทและระดับของนิพพาน

  1.สอุปาทิเสสนิพพานธาตุ

  2.อนุปาทิเสสนิพพานธาตุ

นิโรธ 5

2.ประเภทและระดับของผู้บรรลุนิพพาน

  คำว่า "อริยะ"

  คำว่า "ทักขิไณย"

แบบที่ 1 : ทักขิไณยบุคคล 8 หรืออริยบุคคล 8 

  สังโยชน์ 10 

  พระเลขะหรือสอุปาทิเสสบุคคล และพระอเสขะหรืออนุปาทิเสสบุคคล

แบบที่ 2 : ทักขิไณยบุคคล 7 หรืออริยบุคคล 7

   พระเลขะหรือสอุปาทิเสสบุคคล และพระอเสขะหรืออนุปาทิเสสบุคคล

พระอรหันต์ประเภทต่างๆ

-บันทึกพิเศษท้ายบท

บันทึกที่ 1 : สอุปาทิเสส และอนุปาทิเสส

บันทึกที่ 2 : ความหมายของ ทิฏฐธัมมิกะ และสัมปรายิกะ

บันทึกที่ 3 : จริมจิต

บันทึกที่ 4 : สีลัพพตปรามาส

บันทึกที่ 5 : ความหมายของ "ฌาน"


บทที่ 8 ข้อควรทราบเพิ่มเติมเพื่อเสริมความเข้าใจ

1.สมถะ-วิปัสสนา

2.เจโตวิมุตติ-ปัญญาวิมุตติ

-บันทึกพิเศษท้ายบท : ความเข้าใจเกี่ยวกับอนัตตาและนิพพาน

บทที่ 9 หลักการสำคัญของการบรรลุนิพพาน

ก.หลักทั่วไป

ข.หลักมาตรฐานด้านสมถะ

ค.หลักมาตรฐานด้านวิปัสสนา

ง.หลักการปฏิบัติที่จัดเป็นระบบ (สรุปความวิสุทธิมัคค์ 951 หน้า)

-บันทึกพิเศษท้ายบท

  บันทึกที่ 1 : คำว่า "บรรลุนิพพาน"

  บันทึกที่ 2 : ในฌาน เจริญวิปัสสนา หรือบรรลุมรรคผล ได้หรือไม่

  บันทึกที่ 3 : เนวสัญญานาสัญญายตนะ ใช้ทำวิปัสสนาไม่ได้ ?

  บันทึกที่ 4 : ขณะจิตที่บรรลุมรรคผล

บทที่ 10 บทสรุปเรื่องเกี่ยวกับนิพพาน

-คุณค่าและลักษณะที่พึงสังเกตเกี่ยวกับนิพพาน

1.จุดหมายสูงสุดของชีวิตเป็นสิ่งที่อาจบรรลุได้ในชาตินี้

2.นิพพานเป็นจุดหมายที่ทุกคนเข้าถึงได้ ไม่จำกัดชาติชั้น หญิงชาย

3.นิพพานอำนวยผลที่ยิ่งกว่าลำพังความสำเร็จทางจิตจะให้ได้

-จุดที่มักเขว หรือเข้าใจพลาดเกี่ยวกับนิพพาน

1.ความยึดมั่นในความไม่ยึดมั่น

2.ลักษณะที่ชวนให้สับสนหรือหลงเข้าใจผิด

3.ความสุขกับความพร้อมที่จะมีความสุข

-ปัญหาสำคัญเกี่ยวกับนิพพาน

1.นิพพานกับอัตตา

2.พระอรหันต์สิ้นชีวิตแล้วเป็นอย่างไร


บทที่ 11 บทความประกอบที่ 1 : ชีวิตและคุณธรรมพื้นบ้านของอารยชน

-ข้อความทั่วไป และคุณสมบัติโดยสรุป

 ก.คำเรียก คำแสดงคุณลักษณะ และไวพจน์ต่างๆ ของบุคคลโสดาบัน

 ข.คุณสมบัติทั่วไป

 ค.คุณสมบัติในแง่ละได้

 ง.คุณสมบัติและข้อปฏิบัติก่อนเป็นโสดาบัน

-ความเข้าใจเพิ่มเติมเกี่ยวกับคุณสมบัติสำคัญของบุคคลโสดาบัน

-บันทึกพิเศษท้ายบท :

บันทึกที่ 1 : ความหมายของ สุตวา อริยสาวก และอริยธรรม เป็นต้น

บันทึกที่ 2 : เหตุที่คนให้ทาน


บทที่ 12 บทความประกอบที่ 2 : ศีลกับเจตนารมณ์ทางสังคม

ศีลที่เป็นธรรมกับศีลที่เป็นวินัย

สำนึกในการรักษาศีล หรือปฏิบัติตามศีล

วัตถุประสงค์ของการบัญญัติวินัย

การแสดงความเคารพ

การอวดอุตริมนุษยธรรม

สังฆทาน

-สรุปความ

ความเคารพในสงฆ์ การถือสงค์ และประโยชน์สุขส่วนรวมเป็นใหญ่

ระเบียบชีวิต ระบบสังคม และหลักการแห่งธรรมวินัย

-บันทึกพิเศษท้ายบท

บันทึกที่ 1 :แสดงธรรม บัญญัติวินัย

บันทึกที่ 2 :ศีล วินัย ศีลธรรม

บันทึกที่ 3 :ความหมายบางอย่างของวินัย

บันทึกที่ 4 :การปฏิบัติเพื่อประโยชน์สุขของพหูสูตร

บันทึกที่ 5 :เคารพธรรม เคารพวินัย

บันทึกที่ 6 :การเคารพตามอายุสมาชิกภาพ


บทที่ 13 บทความประกอบที่ 3 อิทธิปาฏิหาริย์ และเทวดา

-อิทธิปาฏิหาริย์

-เทวดา

-สรุปวิธีปฏิบัติ

-บันทึกพิเศษท้ายบท

บันทึกที่ 1 : อิทธิปาฏิหาริย์ในคัมภีร์

บันทึกที่ 2 : การช่วยและการแกล้งของพระอินทร์

บันทึกที่ 3 : สัจกิริยา ทางออกที่ดีสำหรับผู้ยังหวังอำนาจดลบันดาล

บันทึกที่ 4 : พระพุทธ เป็นมนุษย์หรือเทวดา



บทที่ 14 บทความประกอบที่ 4 : ปัญหาเกี่ยวกับแรงจูงใจ

-ความเข้าใจเบื้องต้น เพื่อแก้และกันความสับสน

-แรงจูงใจในพุทธธรรม : ตัณหา-ฉันทะ

 ตัณหา

 ฉันทะ

ตัวอย่างแสดงความแตกต่างระหว่าง ตัณหา กับฉันทะ

ผลแตกต่างทางจริยธรรม ระหว่างตัณหากับฉันทะ

ความต้องการในการกินและการสืบพันธุ์

-ข้อพิจารณาเชิงซับซ้อน

เมตตา

ตัณหา-เสน่หา ฉันทะ-เมตตา

ฉันทะอยากทำชั่ว ตัณหาอยากทำดี มีหรือไม่

ฉันทะกับตัณหา เกิดแทรกสลับเป็นปัจจัยแก่กันได้

วิธีปฏิบัติต่อฉันทะและตัณหา-บทสรุป

พระอรหันต์สิ้นตัรหาแล้ว จะมีอะไรเป็นแรงจูงใจ

ตารางเปรียบเทียบ ตัณหา กับฉันทะ

ตัวอย่างพฤติกรรมที่เนื่องด้วยตัณหาและฉันทะ


บทที่ 15 : บทความประกอบที่ 5 : ความสุข

-ความสำคัญของความสุข ในหลักพุทธธรรม

-ขั้นหรือประเภทต่างๆของความสุข

กามสุข

โทษของกาม

เหตุใดผู้ประสบสุขประณีตจึงไม่เห็นคุณของกามสุข

ฌานสุข และข้อบกพร่องของฌานสุข

สุขที่ไม่เป็นเวทนา

การเข้าถึงความสุขที่สูงขึ้นไปๆ

เปรียบเทียบกามสุขกับสุขประณีต และสรุปขั้น-ประเภทของความสุข

-บทสรุป : วิธีปฏิบัติต่อความสุข

-บันทึกพิเศษท้ายบท : 

  บันทึกที่ 1 : ความสุขจัดเป็นคู่ๆ

  บันทึกที่ 2 : ความสุขจัดเป็นสามระดับ (อีกแบบหนึ่ง)


     ภาค 2 มัชฌิมาปฏิปทา

ข้อปฏิบัติที่เป็นกลางตามกฎธรรมชาติ หรือ ทางสายกลาง


ตอน 5 ชีวิตควรเป็นอยู่อย่างไร


บทที่ 16 บทนำของมัชฌิมาปฏิปทา

-มัชฌิมาปฏิปทาต่อเนื่องจากมัชเฌนธรรมเทศนา

จากกระบวนการของธรรมชาตินิโรธ สู่การปฏิบัติของมนุษย์ในมรรค

กระบวนธรรมแห่งความดับทุกข์แบบต่างๆ

1.จากปฏิจจสมุปบาทนิโรธวาร สู่มัชฌิมาปฏิปทาหรือมรรค

2.กระบวนการกุศลธรรมนำสู่วิมุตติ

3.กระบวนการปฏิบัติแบบลำดับขั้นตอน

  ธรรมเป็นอาหารอุดหนุนกัน

  พรหมจรรย์ที่สำเร็จผล

  วิสุทธิ 7

  จรณะ 15 และวิชชา 3

  อนุบุพพสิกขา หรืออนุบุพพปฏิปทา

  ธรรมจริยา หรือกุศลกรรมบถ 10

-ความเข้าใจเบื้องต้นเกี่ยวกับมัชฌิมาปฏิปทา

มรรคในฐานะมัชฌิมาปฏิปทา

มรรคในฐานะข้อปฏิบัติ หรือทางชีวิตทั้งของบรรพชิตและคฤหัสถ์

มรรคในฐานะหลักปฏิบัติที่ต่อเนื่องด้วยสังคม

มรรคในฐานะทางให้ถึงความสิ้นกรรม

มรรคในฐานะอุปกรณ์สำหรับใช้ มิใช่ยึดถือหรือแบกโก้ไว้

มรรคในฐานะพรหมจรรย์ หรือพุทธจริยธรรม

มรรคในฐานะมรรคาสู่จุดมุ่งหมายขั้นต่างๆของชีวิต : อรรถะ 3 สองแบบ

มรรคในฐานะไตรสิกขา หรือระบบการศึกษาสำหรับสร้างอารยชน

จากมรรคสู่ไตรสิกขา

ระบบของมัชฌิมาปฏิปทา

ความก้วหน้าในมรรคา

-บันทึกพิเศษท้ายบท 4 เรื่อง

บันทึกที่ 1 : การจัดธรรมจริยาเข้าในไตรสิกขา

บันทึกที่ 2 : การเรียกชื่อศีล 5 และธรรมจริยา 10

บันทึกที่ 3 : ความหมายของคำว่าศีลธรรม

บันทึกที่ 4 : ความหมายตามแบบแผนของไตรสิกขา


บทที่ 17 บุพภาคของการศึกษา หรือบุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา 1 : ปรโตโฆสะที่ดี

-ปัจจัยแห่งสัมมาทิฏฐิ 2

-ปรโตโฆสะกัลยาณมิตร

-คุณสมบัตรของกัลยาณมิตร

สัตบุรุษ

บัณฑิต

กัลยาณมิตรธรรม

พระสงฆ์ในฐานะกัลยาณมิตร และกัลยาณมิตรอย่างสูง

-การทำหน้าที่ของกัลยาณมิตร : จากปรโตโฆสะ สู่โยนิโสมนสิการ

สัมมาทิฏฐิ 2 

-หลักศรัทธาโดยสรุป

-พุทธพจน์แสดงหลักศรัทธา

กาลามสูตร

สัจจานุรักษ์ ไม่ผูกขาดสัจธรรม

ตรวจสอบพระศาสดา

ขีดจะกัดของศรัทธา

ไม่ต้องมีศรัทธา-ปัญญาแทน

บทที่ 18 บุพภาคของการศึกษา หรือบุพนิมิตแห่งมัชฌิมาปฏิปทา 2 : โยนิโสมนสิการ

-โยนิโสมนสิการ : วิธีแห่งปัญญา (องค์ประกอบภายใน)

-ความสำคัญของโยนิโสมนสิการ

-ความหมายของโยนิโสมนสิการ

-วิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ

1.วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย (แบบอิทัปปัจจยตา หรือแบบปัจจยาการ)

2.วิธีคิดแบบแยกแยะส่วนประกอบ

3.วิธีคิดแบบสามัญลักษณ์ (แบบรู้เท่าทันธรรมดา)

4.วิธีคิดแบบอริยสัจจ์ (แบบแก้ปัญหา)

5.วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ์ (แบบหลักการและความมุ่งหมาย)

6.วิธีคิดแบบคุณโทษและทางออก (แบบอัสสาทะ อาทีนวะ และนิสสรณะ)

7.วิธีคิดแบบคุณค่าแท้-คุณค่าเทียม

8.วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม (แบบกุศลภาวนา)

9.วิธีคิดแบบเป็นอยู่ในปัจจุบัน

10.วิธีคิดแบบวิภัชชวาท

 เตรียมเข้าสู่มัชฌิมาปฏิปทา

-พระรัตนตรัย

-บันทึกพิเศษท้ายบท

บันทึกที่ 1 : วิธีคิดแบบแก้ปัญกา : วิธีคิดแบบอริยสัจ กับวิธีคิดแบบวิทยาศาตร์



บทที่ 19 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 1 : หมวดปัญญา

1.สัมมาทิฏฐิ

 ความสำคัญของสัมมาทิฏฐิ

 คำจำกัดความของสัมมาทิฏฐิ

 ข้อควรทราบทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาทิฏฐิ

 1.โลกียสัมมาทิฏฐิ

 2.โลกุตตรสัมมาทิฏฐิ

 สัมมาทิฏฐิการศึกษา

2.สัมมาสังกัปปะ

 คำจำกัดความ

 ข้อวิจารย์เรื่องทำไมดีจึงแค่ปฏิเสธชั่ว

 ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับเมตตา

 หมายเหตุ : จริยธรรมขั้นความคิด กับจริยธรรมขั้นปฏิบัติการ


บทที่ 20 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 2 : หมวดศีล

3.-4.-5.สัมมาวาจา สัมมากัมมันตะ สัมมาอาชีวะ : คำจำกัดความและความหมาย

-เหตุใดความหมายของศีลจึงมีรูปลักษณะเป็นคำปฏิเสธ

-ศีลสำหรับประชาชน

 ก.ศีลพื้นฐาน

 ข.ศีลเพื่อเสริมความดีงามของชีวิตและสังคม

-หลักการทั่วไปเกี่ยวกับสัมมาอาชีวะ

 ก.การแสวงหาและรักษาทรัพย์

 ข.ความสุขอันชอบธรรมที่คฤหัสถ์ควรมี

 ค.การใช้จ่ายทรัพย์

ข้อวิจารณ์เกี่ยวกับ ทรัพย์ ชีวิตที่ดีงาม สังคม ชีวิตพระ ชีวิตคฤหัสถ์



บทที่ 21 องค์ประกอบของมัชฌิมาปฏิปทา 3 : หมวดสมาธิ

6.สัมมาวายามะ 

-คำจำกัดความและความหมาย

-ความสำคัญและขอบเขตความสำคัญของความเพียร

-การปฏิบัติธรรมอาศัยสภาพแวดล้อม

7.สัมมาสติ

-คำจำกัดความ

-สติในฐานะอัปปมาทธรรม

-สติพิจารณาโดยคุณค่าทางสังคม

-บทบาทของสติในกระบวนการพัฒนาปัญญา หรือการกำจัดสวกิเลส

-สติปัฏฐานในฐานะสัมมาสติ

-สาระสำคัญของสติปัฏฐาน

 ก.กระบวนการปฏิบัติ

 ข.ผลของการปฏิบัติ

-เหตุใดสติที่ตามทันปัจจุบัน จึงเป็นหลักสำคัญของวิปัสสนา

8.สัมมาสมาธิ

 ก.ความหมาย

 ข.ระดับของสมาธิ

 ค.สิ่งที่ไม่ใช่สมาธิ หรือศัตรูของสมาธิ

 ง.ลักษณะของจิตที่เป็นสมาธิ

 จ.ความมุ่งหมายและประโยชน์ของสมาธิ

 ฉ.วิธีเจริญหรือฝึกสมาธิ

  1.การเจริญสมาธิตามวิธีธรรมชาติ

  2.การเจริญสมาธิตามหลักอิทธิบาท หรือฝึกสมาธิด้วยงาน

  3.การเจริญสมาธิอย่างสามัญ หรือฝึกสมาธิโดยใช้สตินำ

  4.การเจริญสมาธิอย่างเป็นแบบแผน

    ปลิโพธ

    กรรมฐาน 40 

    จริยาและจริต 6

    นิมิต 3 และ ภาวนา 3

  ช.ตัวอย่างวิธีเจริญสมาธิ : อานาปานสติ-สาระสำคัญ

    1.เตรียมการ

    2.ขั้นปฏิบัติ คือ ลงมือกำหนดลมหายใจ

  ญ.ผลสำเร็จและขอบเขตความสำคัญของสมาธิ

  ฎ.องค์ประกอบต่างๆที่ค้ำจุน เกื้อหนุน และเสริมประโยชน์ของสมาธิ

    1.ฐาน ปัฏฐาน และที่หมายของสมาธิ

    2.องค์ประกอบร่วมของสมาธิ : องค์ฌาน

    3.เครื่องวัดความพร้อม : อินทรีย์

    4.สนามปฏิบัติการทางปัญญา : โพชฌงค์

    5.ความพร้อมเพรียงขององค์มรรค : ธรรมสามัคคี

ปฏิปทา 4

สรุปบทธรรม

-บันทึกพิเศษท้ายบท

บททึกที่ 1 : การเจริยสติปัฏฐาน คือการอยู่อย่างไม่มีทุกข์ที่จะต้องดับ



บทสรุป 

บทที่ 22 อริยสัจ 4 

-ฐานะและความสำคัญของอริยสัจ

-ความหมายของอริยสัจ

-อริยสัจกับปฏิจจสมุปบาท

-กิจในอริยสัจ

-แนวอธิบายอริยสัจโดยสังเขป

พระรัตนตรัย

ไตรสิกขา

-วิธีแก้ปัญหาแบบพุทธ

-คุณค่าที่เด่นของอริยสัจ

-สรุปพุทธธรรมลงในอริยสัจ

-บันทึกพิเศษเสริมบทสรุป : ข้อสังเกตบางประการในการศึกษาพุทธธรรม

บันทึกของผู้เขียน

บรรณานุกรม

ดัชนี


แทรกเพิ่ม 

บทที่ 3

-คำอธิบายไตรลักษณ์ตามหลักวิชาในคัมภีร์

-คุณค่าทางจริยธรรมของไตรลักษณ์

-พุธพจน์เกี่ยวกับไตรลักษณ์

บทที่ 4

บันทึกที่ 6 : ความหมายของภวตัณหาและวิภวตัณหา

ดัชนีภาคผนวก

....................................................................

คำปรารภ-ฉบับก่อนหน้านี้

หนังสือพุทธรรม เป็นผลงานค้นคว้าชิ้นเอกของพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ. ปยุตฺโต)

ซึ่งพิมพ์ออกเผยแพร่ครั้งแรก เมื่อ พ.ศ. ๒๕๑๔ โดยโครงการตำราสังคมศาสตร์และ

มนุษย์ศาสตร์ จัดพิมพ์ต่อมา ใน พ.ศ. ๒๕๒๕ ท่านผู้เรียบเรียง ได้ปรับปรุงขยายความ

และได้มอบให้คณะระดมธรรมและธรรมสถานจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ซึ่งถือว่า เป็นการพิมพ์

ครั้งแรก และคณะระดมธรรม ได้จัดพิมพ์อีกเป็นครั้งที่ สอง


ต่อมาในปี พ.ศ. ๒๕๒๙ เป็นการจัดพิมพ์ครั้งที่ สาม พระเดชพระคุณผู้เรียบเรียงได้

เมตตามอบให้มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย จัดพิมพ์เผยแพร่ตลอดไป พระทั้ง

หนังสือพจนานุกรมศาสตร์ฉบับประมวลธรรม, พจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์

และธรรมนูญชีวิต


หนังสือพุทธธรรม ได้จัดพิมพ์มาแล้วถึง สิบครั้ง ปรากฎว่าได้รับความสนใจจากครู

อาจารย์ นิสิตนักศึกษา และสาธุชน เป็นอันมาก จนหมวดในเวลาไม่นานนัก

ดังนั้นมหาวิทยาลัยจึงได้จัดพิมพ์อีกเป็นครั้งที่ สิบเอ็ด จำนวน ๑๕,๐๐๐ เล่ม

และได้รับความเมตตาอนุญาติจากท่านเจ้าคุณพระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) เช่นเคย

จึงขอกราบขอบพระคุณไว้ ณ ที่นี้ เป็นอย่างสูง


ขออำนาจคุณพระศรีรัตนตรัย และผลแห่งกุศลธรรมวิทยาทาน อันประเสริฐนี้

จงเป็นพลังปกป้อง ให้พระเดชพระคุณมีสุขภาพ และ พลานามัย แข็งแรง

สมบูรณ์ สามารถบำเพ็ญศาสนกิจเป็นหิตานุหิตประโยชน์ต่อพหูชน เป็นธงชัย

ของมวลศิษย์และพุทธศาสนิกชน ตลอดกาลนาน


มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๒๙ มกราคม ๒๕๕๒

...................................................................................................................


ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรม

ลักษณะทั่วไปของพุทธธรรมนั้น สรุปได้ 2 อย่าง คือ

1. แสดงหลักความจริงสายกลาย ที่เรียกว่า "มัชเฌนธรรม" หรือ เรียกเต็มว่า "มัชเฌนธรรมเทศนา"

ว่าด้วยความจริงตามแนวของเหตุผลบริสุทธิ์ ตามกระบวนการของธรรมชาติ นำมาแสดงเพื่อประโยชน์ในทางปฏิบัติในชีวิตจริงเท่านั้น

ไม่ส่งเสริม ความพยายามที่จะเข้าถึงสัจธรรมด้วยวิธี

ถกเถียง สร้างทฤษฎีต่างๆ ขึ้นแล้วยึดมั่นปกป้องทฤษฎีนั้นๆ ด้วยการเก็งความจริงทางปรัชญา


2. แสดงข้อปฏิบัติสายกลาย ที่เรียกว่า "มัชฌิมาปฏิปทา" อันเป็นหลักการครองชีวิตของผู้ฝึกอบรมตน

ผู้รู้เท่าทันชีวิต ไม่หลงงมงาย มุ่งผลสำเร็จ คือ ความสุข สะอาด สว่าง สงบ เป็นอิสระ ที่สามารถ มองเห็นได้ในชีวิตนี้

ในทางปฏิบัติ ความเป็นสายกลายนี้ เป็นไปโดยสัมพันธ์กับองค์ประกอบอื่นๆ

เช่น สภาพชีวิตของบรรพชิต หรือคฤหัสถ์ เป็นต้น  (คัดลอกจากหนังสือ พุทธธรรม ฉบับปรับขยาย หน้าที่ 6)


พระพุทธศาสนา เป็นศาสนาแห่งการกระทำ (กรรมวาท และกิริยวาท) เป็นศาสนาแห่งความเพียร พยายาม

(วิริยวาท) ไม่ใช่ศาสนาแห่งการอ้อนวอนปรารถนา หรือศาสนา แห่งความห่วงกังวล.


บริการห่อหนังสือพุทธธรรม สำหรับท่านที่แจ้งความประสงค์จะมอบเป็นหนังสือของขวัญฟรี
บริการห่อหนังสือพุทธธรรม สำหรับท่านที่แจ้งความประสงค์จะมอบเป็นหนังสือของขวัญฟรี 

ให้แจ้งความจำนงค์  "ในช่องรายละเอียดเพิ่มเติม" 

หลังจากสั่งสินค้า  หรือ โทรแจ้ง ความประสงค์ 

จะให้ห่อเป็นหนังสือของขวัญ ฟรี โทร.086-461-8505, 087-696-7771



Tags : พุทธธรรม พุทธธรรมฉบับปรับปรุงและขยายความ พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต) มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

view

 หน้าแรก

 บทความ

 เว็บบอร์ด

รวมรูปภาพ

ติดต่อเรา

view